ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พงษ์ศักดิิ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ตามราชกิจจาฯ
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ชื่อname = เจ้าอุตรการโกศล <br><small> (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)</small>
| สีพิเศษ = #ffcc00
|ภาพ image = ไฟล์:เจ้าน้อยสุขเกษม.jpg
| สีอักษร = #8f5f12
| birth_style = เกิด
| ชื่อ = เจ้าอุตรการโกศล <br><small> (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)</small>
|ประสูติ birth_date = [[พ.ศ. 2423]]<ref name=com>[http://www.compasscm.com/issue/Feb10/module_back.asp?content=Feb10/scoop&lang=TH เจ้าน้อยศุขเกษม กับนางมะเมียะ]</ref>
|ภาพ = ไฟล์:เจ้าน้อยสุขเกษม.jpg
| death_style = ถึงแก่กรรม
|พระนาม = ศุขเกษม ณ เชียงใหม่
|วันพิราลัย death_date = [[20 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2456]] (33 ปี)
|พระปรมาภิไธย =
| succession = กรมการพิเศษเมืองนครเชียงใหม่
|ประสูติ = [[พ.ศ. 2423]]<ref name=com>[http://www.compasscm.com/issue/Feb10/module_back.asp?content=Feb10/scoop&lang=TH เจ้าน้อยศุขเกษม กับนางมะเมียะ]</ref>
| father-type = เจ้าบิดา
|วันพิราลัย= [[20 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2456]] (33 ปี)
| father = [[เจ้าแก้วนวรัฐ]]
|พระอิสริยยศ =
| mother-type = เจ้ามารดา
|ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้านายฝ่ายเหนือ#ฐานันดรศักดิ์|เจ้าอุตรการโกศล]]
|พระราชบิดา =mother = [[เจ้าแก้วนวรัฐจามรีวงศ์]]
| spouse-type = ภริยา
|พระมารดา= [[เจ้าจามรีวงศ์|แม่เจ้าจามรีมหาเทวี]]
|พระชายา spouse = เจ้าหญิงบัวชุม ณ เชียงใหม่
|ราชวงศ์ dynasty = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
|พระโอรส/ธิดา =
|ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
|ทรงราชย์ =
|พระอัฐิ = [[กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
|พิธีบรมราชาภิเษก =
|ระยะเวลาครองราชย์ =
|รัชกาลก่อนหน้า =
|รัชกาลถัดมา =
|}}
 
'''ร้อยตรี เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)''' หรือมีนามเดิมว่า '''เจ้าน้อยศุขเกษม''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Chao_Uttarakankoson.png|250px]]}}) ([[พ.ศ. 2423]] -[[ พ.ศ. 2456]]) ราชโอรสองค์ใหญ่ใน พลตรี[[พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ]] สมรสกับ [[เจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่]] พระญาติในราชวงศ์ทิพย์จักร ดำรงฐานันดรศักดิ์มีบรรดาศักดิ์เป็น '''"เจ้าอุตรการโกศล"''' ถือศักดินา 1,600
 
เจ้าน้อยศุขเกษม ถูกกล่าวถึงในบทเพลง มะเมี้ยะ ของ [[จรัล มโนเพ็ชร]] ซึ่งกล่าวถึงตำนานรักต้องห้ามระหว่าง เจ้าชายเมืองเหนือ กับ [[มะเมียะ]] สาวชาวพม่า แห่ง เมือง[[มะละแหม่ง|เมืองมะละแหม่ง]] ที่จบลงด้วยความเศร้า
 
== ประวัติ ==
เจ้าน้อยศุขเกษม ประสูติเมื่อปี [[พ.ศ. 2423]] เป็นราชโอรสองค์โตใหญ่ในเจ้าแก้วนวรัฐกับแม่เจ้าจามรีมหาเทวี มีน้องสาวและน้องชายร่วมพระมารดา คือ [[เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่|เจ้าบัวทิพย์]] และ[[เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวันวงษ์ตะวัน ณ เชียงใหม่)|เจ้าวงศ์ตวันวงษ์ตะวัน]] ในปี พ.ศ. 2441 ในวัย 15 ปีก็ถูกส่งตัวไปศึกษายังโรงเรียนเซนต์แพทริคในเมืองมะละแหม่งของพม่า<ref name = "Silpa"/> และได้พบรักกับ[[มะเมียะ]]แม่ค้าสาวชาวพม่าในปี พ.ศ. 2445 จนกระทั่งได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยา ด้วยความสนับสนุนของทางบ้านของมะเมียะ
 
หลังจากเรื่องเจ้าศุขเกษมไปคบหากับสาวพม่าได้ยินมาถึงคุ้มเชียงใหม่ เจ้าศุขเกษมก็ถูกเรียกกลับเชียงใหม่ในปีพ.ศ. 2446 โดยมะเมียะปลอมตัวเป็นผู้ชายติดตามขบวนมาและให้คนสนิทปิดเรื่องนี้เป็นความลับ<ref>วรชาติ มีชูบท, ''เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมีย'', กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค, 2556</ref> หลังจากเรื่องแดง มะเมี๊ยะซึ่งเป็นคนพม่าและมีฐานะยากจน ก็ถูกคุ้มเชียงใหม่บีบบังคับให้แยกทางจากเจ้าศุขเกษมอย่างเด็ดขาด<ref name = "Silpa"/> โดยเจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ เคยให้สัมภาษณ์ต่อตำนานดังกล่าว ซึ่งเจ้าดวงเดือนรับฟังมาจากเจ้าแก้วนวรัฐ ความว่า:
เส้น 35 ⟶ 28:
มีผู้พยายามเสนอว่า การที่เจ้าศุขเกษมและมะเมียะต้องแยกทางกัน เพราะมะเมียะเป็นคนในบังคับอังกฤษเกรงจะเป็นปัญหาทางการเมืองระหว่างประเทศนั้น นักวิชาการได้ศึกษาค้นคว้าแล้วสรุปว่าไม่มีมูล<ref name = "Silpa"/> ดังที่ [[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] สมรสกับ[[เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่|เจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง]] ก็ไม่เป็นปัญหาทางการเมืองแต่อย่างใด
 
เจ้าศุขเกษมได้เข้าพิธีสมรสกับ[[เจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่]] เจ้าศุขเกษมมีอุปนิสัยไม่เอาการเอางาน ชอบแต่สุรา ด้วยเหตุฉะนี้จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเพียง "เจ้าอุตรการโกศล" ซึ่งไม่มีสิทธิขึ้นครองนครต่อเนื่องจากไม่ใช่ตำแหน่งเจ้าขันห้าใบ เจ้าศุขเกษมถึงแก่พิราลัยกรรมด้วยโรคเส้นประสาทพิการเรื้อรัง เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2456 สิริอายุ 33 ปี<ref>{{cite namejournal|journal=comราชกิจจานุเบกษา|volume=30|issue=ง|pages=3080|title=ข่าวตาย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2456/D/3080.PDF|date=29 มีนาคม 2456|accessdate=21 กุมภาพันธ์ 2562|language=ไทย}}</ref> (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2457) มีบุตรธิดาด้วยกัน 5 คน ได้แก่<ref> โดยมีพิธีปลงศพ ในวันที่ [[31 สิงหาคม]] ของปีเดียวกัน
 
== ลำดับสาแหรก ==
เส้น 50 ⟶ 43:
|1= 1. '''เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)'''
|2= 2. [[เจ้าแก้วนวรัฐ]]
|3= 3. [[แม่เจ้าเจ้าจามรีมหาเทวีวงศ์]]
|4= 4. [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
|5= 5. [[แม่เจ้าเขียว]]
|6= 6. เจ้าราชภาคินัย (แผ่นฟ้า ณ เชียงใหม่)
|7= 7. เจ้าเรือนคำ สิโรรส
เส้น 91 ⟶ 84:
 
{{เรียงลำดับ|ศุขเกษม ณ เชียงใหม่}}
{{เกิดปีอายุขัย|2423|2457}}
{{ตายปี|2456}}
[[หมวดหมู่:เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ทิพย์จักร]]