ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศอินโดนีเซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 153:
ท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของอินโดนีเซียคือ [[ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา]] ซึ่งเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารผ่านเข้าออกมากที่สุดในซีกโลกใต้ ราว 63 ล้านคน ในปี 2017<ref>{{cite web|url=http://www.thejakartapost.com/news/2018/04/11/soekarno-hatta-worlds-17th-busiest-airport.html|title=Soekarno-Hatta world's 17th busiest airport|publisher=The Jakarta Post|accessdate=11 April 2018|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20180411120328/http://www.thejakartapost.com/news/2018/04/11/soekarno-hatta-worlds-17th-busiest-airport.html|archivedate=11 April 2018}}</ref> โดยมี[[ท่าอากาศยานนานาชาติงูระฮ์ ไร]] และ [[ท่าอากาศยานนานาชาติจ็วนดา]] มีผู้โดยสารเข้าออกมากที่สุดรองลงมาตามลำดับ สายการบินประจำชาติ "[[การูดาอินโดนีเซีย]]" เปิดตัวในปี 1949 ในปัจจุบันสายการบินชั้นนำแห่งหนึ่งของโลก และเป็นสมาชิกของ[[สกายทีม]] ส่วนการคมนาคมทางน้ำมี[[ท่าเรือตันจัง ปริอ็อก]] เป็นท่าสำคัญที่มีการใช้งานเยอะที่สุดและขึ้นชื่อว่าทันสมัยที่สุดในประเทศ<ref>{{cite web|url=https://www.economist.com/news/special-report/21693404-after-decades-underinvestment-infrastructure-spending-picking-up-last|title=The 13,466-island problem|publisher=The Economist|date=27 February 2016|accessdate=16 June 2017}}</ref> รองรับการขนส่งสินค้ามากกว่า 50% ของการขนส่งทางเรือทั้งหมดของประเทศ
 
=== วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ===
[[File:Palapa B-2P.jpg|thumb|right|[[ดวงตราไปรษณียากร]]ที่ระลึกการปล่อย[[ดาวเทียมปาลาปา]]]]
 
บรรทัด 162:
 
อินโดนีเซียยังมีโครงการและหน่วยงานด้านอวกาศของตนเอง [[สถาบันด้านการบินและอวกาศแห่งชาติ]] (''Lembaga Penerbangan dan Antariksa Nasional'', LAPAN) ซึ่งในราวทศวรรศปี 1970 อินโดนีเซียเป็นชาติกำลังพัฒนาชาติแรกที่ได้ส่งระบบ[[ดาวเทียม]]ขึ้นไปโคจร ชื่อว่า[[ปาลาปา]]<ref>{{cite web|url=https://www.nytimes.com/1976/07/08/archives/indonesian-satellite-to-be-launched-communications-craft-is-first.html|title=Indonesian Satellite to Be Launched|author=Mcelheny, Victor K.|publisher=The New York Times|date=8 July 1976|accessdate=2 August 2018|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20180802050737/https://www.nytimes.com/1976/07/08/archives/indonesian-satellite-to-be-launched-communications-craft-is-first.html|archivedate=2 August 2018}}</ref> อันเป็นกลุ่มดาวเทียมสื่อสารที่[[อินโดแซต อูเรอดู]] เป็นเจ้าของ ดาวเทียมดวงแรกของโครงการ ปาลาปา เอ 1 ได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรในอวกาศเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 1976 จาก[[ศูนย์อวกาศเคนเนดี]]ในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา<ref>{{cite web|url=http://spacejournal.ohio.edu/issue8/his_marwah3.html|title=Planning and Development of Indonesia's Domestic Communications Satellite System PALAPA|publisher=Online Journal of Space Communication|date=2005|accessdate=18 May 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150518111302/http://spacejournal.ohio.edu/issue8/his_marwah3.html|archivedate=18 May 2015}}</ref> จนถึงปัจจุบันมีดาวเทียมกลุ่มปาลาปา รวม 16 ดวงที่ถูกส่งไปโคจร<ref>{{cite web|url=https://www.n2yo.com/satellites/?c=INDO&t=country|title=Satellites by countries and organizations: Indonesia|publisher=N2YO|accessdate=28 July 2018}}</ref> และ LAPAN ยังยืนยันไม่หยุดพัฒนาเท่านี้ และแสดงเจตจำนงที่จะส่งดาวเทียมจากฐานในประเทศภายในปี 2040<ref>{{cite web|url=https://lapan.go.id/index.php/subblog/read/2016/2814//2017|title=Lapan Target Luncurkan Roket Pengorbit Satelit Pada 2040|author=Faris Sabilar Rusydi|publisher=[[National Institute of Aeronautics and Space]] (LAPAN)|date=17 June 2016|language=id|accessdate=16 August 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170816111201/https://lapan.go.id/index.php/subblog/read/2016/2814//2017|archivedate=16 August 2017}}</ref>
 
=== การท่องเที่ยว ===
 
== ประชากร ==