ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็มบีเคเซ็นเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
Ekkaeak (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 44:
}}
 
'''ศูนย์การค้าเอ็มบีเค เซ็นเตอร์''' ({{lang-en|MBK Center}}) หรือชื่อเดิมว่า ''มาบุญครองเซ็นเตอร์'' เป็น[[ศูนย์การค้า]]ขนาดใหญ่ใน[[กรุงเทพมหานคร]] ดำเนินงานโดย''บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน)'' ภายในอาคารขนาด 8 ชั้น ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 444 [[ถนนพญาไท]] [[แขวงวังใหม่]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] มีพื้นที่ใช้สอยประมาณใช้ทั้งหมด 89270,000685.57 ตารางเมตร ซึ่งส่วนหนึ่งจัดเป็นพื้นที่เช่าค้าขาย จำนวนกว่า 2,500 ร้านค้า โดยมีสินค้าและบริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
 
ศูนย์อาหารบนห้างมาบุญครองบนชั้นที่6 จัดว่าเป็นศูนย์อาหารต้นแบบที่ห้างอื่นๆตลอดจนโมเดิร์นเทรดยุคใหม่ยึดถือปฏิบัติตาม กล่าวคือลูกค้าต้องซื้อคูปองชนิดราคาต่างๆกับจนท.ของห้างในซุ้ม ก่อนที่จะนำคูปองนั้นไปแลกซื้ออาหารในศูนย์อีกครั้งหนึ่ง จนมีการพัฒนาเป็นการ์ดเติมเงินในปัจจุบัน
 
== ประวัติ ==
<!--[[ไฟล์:MBK Bangkok 2.jpg|140px|left|thumb|ภายในศูนย์การค้า]]-->
''บริษัท มาบุญครองอบพืชและไซโล จำกัด'' จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[25 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2517]]<ref name="history">[http://web.archive.org/web/20111211192006/http://mbk-center.co.th/th/about/history.php ประวัติเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ (หน้าเว็บเก่า)]</ref> มีที่มาจากชื่อบิดา (มา) และมารดา (บุญครอง) ของ[[ศิริชัย บูลกุล]] ผู้ก่อตั้งบริษัทฯ โดยในระยะเริ่มแรก ประกอบกิจการโรงสีข้าว และจำหน่ายข้าวสารบรรจุถุง [[เครื่องหมายการค้า]]''มาบุญครอง'' (ต่อมาโอนกิจการไปให้บริษัทลูกคือ บมจ.ปทุมไรซมิลแอนด์แกรนารี ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2525]]) และ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] อนุมัติให้จดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์รับอนุญาต เมื่อปี [[พ.ศ. 2521]]<ref name="history"/>
 
''บริษัท มาบุญครองอบพืชและไซโล จำกัด'' จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[25 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2517]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]]  ดำเนินกิจการให้บริการพัก เก็บ อบ และขนถ่ายผลิตผลทางการเกษตร และ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] อนุมัติให้จดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์รับอนุญาต เมื่อปี [[พ.ศ. 2521]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]]
ต่อมาบริษัทฯ ดำเนินการเช่าที่ดิน บริเวณหัวมุม[[แยกปทุมวัน]] ฝั่งถนนพญาไทมุ่งหน้า[[แยกสามย่าน]] ซึ่งเช่ามาจาก[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] แล้วก่อสร้างอาคาร''ศูนย์การค้ามาบุญครอง'' จนกระทั่งแล้วเสร็จเริ่มเปิดให้บริการ โดย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ทรงเปิดศูนย์การค้า เมื่อวันที่ [[7 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2528]]<ref name="history"/> นับเป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในเวลานั้น ซึ่งมีลักษณะเด่นที่ผนังอาคารทั้งหลัง บุด้วยหินอ่อนทั้งภายนอกและภายใน ทว่าบริษัทฯ ขอยุติการเป็นหลักทรัพย์รับอนุญาต เมื่อปี [[พ.ศ. 2530]]<ref name="history"/>
 
ต่อมาในปี 2526 บริษัทฯ ดำเนินการเช่าที่ดิน บริเวณหัวมุมสี่[[แยกปทุมวัน]] ฝั่งถนนพญาไทมุ่งหน้า[[แยกสามย่าน]]กับ ซึ่งเช่ามาจาก[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] แล้วก่อสร้างอาคาร''ศูนย์การค้ามาบุญครอง'' จนกระทั่งแล้วเสร็จ เริ่มเปิดให้บริการ โดย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ทรงเปิดศูนย์การค้า เมื่อวันที่ [[7 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2528]]<ref name="[[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history"-2|<sup>[2]</sup>]] นับเป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในเวลานั้น ซึ่งมีลักษณะเด่นที่ผนังอาคารทั้งหลัง บุด้วยหินอ่อนทั้งภายนอกและภายใน ทว่าบริษัทฯ ขอยุติการเป็นหลักทรัพย์รับอนุญาต เมื่อปี [[พ.ศ. 2530]]<ref name="[[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history"-2|<sup>[2]</sup>]]
จากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร<ref name="history"/> พร้อมทั้งชื่อใหม่เป็น''บริษัท เอ็มบีเค พรอพเพอร์ตีส์ แอนด์ ดีเวลอปเมนต์ จำกัด'' ซึ่งเข้าจดทะเบียนแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนเมื่อวันที่ [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2537]] เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ว่า MBK-PD และเริ่มซื้อขายหุ้นสามัญของบริษัทฯ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตั้งแต่วันที่ [[24 เมษายน]] ปีเดียวกัน<ref name="background">[http://mbk-th.listedcompany.com/company_background.html ประวัติเอ็มบีเค เซ็นเตอร์]</ref>
 
ต่อมาในจากนั้นปี 2533 มีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร[[พ.ศ. 2543]] ศูนย์การค้าเปลี่ยนชื่อเป็น ''เอ็มบีเคเซ็นเตอร์''#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]] พร้อมทั้งดำเนินการปรับปรุงอาคาร โดยเปลี่ยนวัสดุผนังภายนอก และปรับปรุงทางหนีไฟ จากนั้น ดำเนินการเปลี่ยนชื่อบริษัทฯ อีกสองครั้งใหม่เป็น''บริษัท เอ็มบีเค พรอพเพอร์ตีส์ แอนด์ ดีเวลอปเมนต์ จำกัด (มหาชน)'' ซึ่งเข้าจดทะเบียนแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนเมื่อวันที่ [[208 พฤศจิกายนเมษายน]] [[พ.ศ. 25452537]] และเข้าเป็น ''บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)'' รวมทั้งเปลี่ยนชื่อย่อหลักทรัพย์เป็น MBKจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ [[105 พฤศจิกายนเมษายน]] [[พ.ศ. 25462539]]<ref name="โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ว่า MBK-PD และเริ่มซื้อขายหุ้นสามัญของบริษัทฯ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตั้งแต่วันที่ [[24 เมษายน]] ปีเดียวกัน[[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-background"-3|<sup>[3]</sup>]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2543]] ศูนย์การค้าเปลี่ยนชื่อเป็น ''เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์'' พร้อมทั้งดำเนินการปรับปรุงอาคาร โดยเปลี่ยนวัสดุผนังภายนอก และปรับปรุงทางหนีไฟ จากนั้น ดำเนินการเปลี่ยนชื่อบริษัทฯ อีกสองครั้งเป็น''บริษัท เอ็ม บี เค ดีเวลอปเมนต์ จำกัด (มหาชน)'' เมื่อวันที่ [[20 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2545]] และเป็น ''บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)'' รวมทั้งเปลี่ยนชื่อย่อหลักทรัพย์เป็น MBK เมื่อวันที่ [[10 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2546]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-background-3|<sup>[3]</sup>]]
 
<br />
 
== การจัดสรรพื้นที่ ==
เอ็มบีเค เซ็นเตอร์ ในปัจจุบันเป็นที่รู้จักในด้านตลาดการซื้อขาย[[โทรศัพท์มือถือ]]ศูนย์การค้าครบวงจรภายใต้ ซึ่งอยู่ในบริเวณชั้นConcept 4“One Stop Shopping” ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า แทนที่ร้านขายอาหาร23 และซูเปอร์มาร์เก็ตเดิมไร่ โดยมีพื้นที่สำคัญดังนี้
 
*·        ห้างสรรพสินค้าโตคิว
** โตคิว ซูเปอร์มาร์เก็ต
 
*·        ท็อปส์ มาร์เก็ต
* เดอะ ฟิฟธ์ ฟู้ด อเวนิว
 
* เอ็มบีเค ฟู้ด ไอส์แลนด์
*·        เดอะ ฟิฟธ์ ฟู้ด อเวนิว
* อะนิเมะท แบงค็อก
 
* เอาท์เล็ต อิน ทาวน์
*·        เอ็มบีเค ฟู้ด ไอส์แลนด์
* คราฟท์ วิลเลจ
 
* ฮีโร่ ซิตี้ เกมส์ เซ็นเตอร์
*·        อะนิเมะท แบงค็อก
* Active-Z เกมส์ เซ็นเตอร์
 
* EX-10 เกมส์<ref>[https://www.lovethailand.org/travel/th/17-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3/15597-%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C.html lovethailand.org]</ref> เซ็นเตอร์
*·        เอาท์เล็ต อิน ทาวน์
* โรงภาพยนตร์[[เอสเอฟ ซีเนม่า]] จำนวน 8 โรงภาพยนตร์ สร้างบนพื้นที่เดิมของเอ็มบีเค ฮอลล์
 
** เอสเอฟ สไตร์ก โบว์ล
*·        คราฟท์ วิลเลจ
* โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส
 
** โอลิมปิก คลับ ฟิตเนส
*·        ฮีโร่ ซิตี้ เกมส์ เซ็นเตอร์
โดยมีสะพานลอยปรับอากาศเชื่อมศูนย์การค้ากับ[[สยามสแควร์]] ผ่านอลาอาร์ต ที่ชั้น 2 ทางเชื่อม[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]] [[สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ]] ที่ชั้น 2,3 และสะพานลอยเชื่อมไปยัง[[คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะสหเวชศาสตร์]] และ[[สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์]]แห่ง[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ที่ชั้น 3
 
*·        Active-Z เกมส์ เซ็นเตอร์
 
·        EX-10 เกมส์[[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-4|<sup>[4]</sup>]] เซ็นเตอร์
 
*·        โรงภาพยนตร์[[เอสเอฟ ซีเนม่า]] จำนวน 8 โรงภาพยนตร์ สร้างบนพื้นที่เดิมของเอ็มบีเค ฮอลล์
 
*·        โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส
 
**·        ดิ โอลิมปิก คลับ ฟิตเนส
 
โดยมีสะพานลอยปรับอากาศเชื่อมศูนย์การค้ากับ[[สยามสแควร์]] ผ่านโซน A LA ART ที่ชั้น 2
 
ทางเชื่อม[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]] [[สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ]] ที่ชั้น 2,3
 
โดยมีสะพานลอยปรับอากาศเชื่อมศูนย์การค้ากับ[[สยามสแควร์]] ผ่านอลาอาร์ต ที่ชั้น 2 ทางเชื่อม[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]] [[สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ]] ที่ชั้น 2,3 และสะพานลอยเชื่อมไปยัง[[คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะสหเวชศาสตร์]] และ[[สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์]]แห่ง[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ที่ชั้น 3
 
== อ้างอิง ==
เส้น 83 ⟶ 99:
{{คอมมอนส์|MBK Center}}
* [http://www.mbk-center.co.th/th/ ห้างสรรพสินค้าเอ็มบีเค เซ็นเตอร์]
* [http://www.maboonkrong.com มาบุญครอง ดอตคอม]
{{แผนที่-อาคาร|13.744471|100.530288}}
{{พลังสยาม}}