ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศอินโดนีเซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 171:
{{bar percent|[[ลัทธิขงจื๊อ|ขงจื๊อ]]และอื่น ๆ|red|0.2}}
}}
[[Fileไฟล์:Unterwegs in Java 452.jpg|thumb|ปัทมาสน์ (อาสนะที่ว่างเปล่า) สัญลักษณ์ของ[[อจินไตย (เทพเจ้า)|เทพอจินไตย]] เทพเจ้าสูงสุดของ[[ศาสนาฮินดูแบบบาหลี]] ศาสนาฮินดูมีผู้นับถือเป็นหลักบนเกาะบาหลี]]
ในปี ค.ศ. 2018<ref>[https://en.wikipedia.org/wiki/Religion_in_Indonesia] Religion in Indonesia</ref> ประเทศอินโดนีเซียมีผู้นับถือศาสนา แบ่งได้ดังนี้ [[ศาสนาอิสลาม]] 81.5% [[ศาสนาคริสต์]] 9.9% [[ศาสนาฮินดู]] 1.7% [[ศาสนาพุทธ]] 6.4% [[ลัทธิขงจื๊อ]]และศาสนาอื่น ๆ 0.2%
 
บรรทัด 195:
== วัฒนธรรม ==
{{Main|วัฒนธรรมอินโดนีเซีย}}
[[Fileไฟล์:Istano Pagaruyuang.jpg|thumb|left|[[พระราชวังมีนังคาเบา]] ที่สร้างด้วยสถาปัตยกรรมบ้านพื้นเมือง ([[รูมะฮ์อาดัต]]) แบบ[[รูมะฮ์กาดัง]]]]
วัฒนธรรมดั้งเดิมของอินโดนีเซียนั้นมีมาราว 2 สหัสวรรศ โดยได้รับอิทธิพลจาก[[อนุทวีปอินเดีย]] [[จีนแผ่นดินใหญ่]] [[ตะวันออกกลาง]] [[ยุโรป]] (ในช่วงล่าอาณานิคม)<ref name="JForshee">{{cite web|url=http://demografi.bps.go.id/phpFileTree/bahan/kumpulan_tugas_mobilitas_pak_chotib/Kelompok_1/Referensi/Jill_Forshee_Culture_and_Customs_of_Indonesia_Culture_and_Customs_of_Asia__2006.pdf|title=Culture and Customs of Indonesia|last=Forshee|first=Jill|publisher=Greenwood Press|date=2006|accessdate=10 October 2017|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171010152700/http://demografi.bps.go.id/phpFileTree/bahan/kumpulan_tugas_mobilitas_pak_chotib/Kelompok_1/Referensi/Jill_Forshee_Culture_and_Customs_of_Indonesia_Culture_and_Customs_of_Asia__2006.pdf|archivedate=10 October 2017}}</ref><ref>{{cite encyclopedia|author=Henley, David|title=The Wiley Blackwell Encyclopedia of Race, Ethnicity, and Nationalism|date=2015|encyclopedia=The Wiley Blackwell Encyclopedia of Race, Ethnicity, and Nationalism|pages=1–7|publisher=John Wiley & Sons, Inc.|doi=10.1002/9781118663202.wberen460|chapter=Indonesia|isbn=978-1-118-66320-2}}</ref> และชาวเกาะพื้นเมือง[[ออสโตรนีเซียน]] ล้วนส่งผลให้อินโดนีเซียในปัจจุบันมีวัฒนธรรมแบบพหุวัฒนธรรม พหุเชื้อชาติ และพหุภาษา<ref name="ethnologue"/><ref name="Expat"/> ซึ่งทำให้มีลักษณะที่แตกต่างไปจากชนพื้นเมืองชาวเกาะดั้งเดิม มีความซับซ้อนในวัฒนธรรมสูง ในปัจจุบันอินโดนีเซียเป็นเจ้าของ[[มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม]] 9 รายการ เช่น มหรสพ[[วายัง]] (คล้าย[[หนังตะลุง]]ของไทย), [[ผ้าบาติก]], การเต้นพื้นเมืองบาหลี เป็นต้น<ref>{{cite web|url=https://ich.unesco.org/en/state/indonesia-ID?info=elements-on-the-lists|title=Indonesia – Intangible heritage, cultural sector|publisher=UNESCO|accessdate=21 December 2017}}</ref>
=== สถาปัตยกรรม ===
[[Fileไฟล์:Besakih Bali Indonesia Pura-Besakih-02.jpg|thumb|ซุ้มประตู[[จันดีเบินตาร์]]และบันไดทางเข้า[[ปูราเบอซากิฮ์]]บนเกาะบาหลี]]
สถาปัตยกรรมอินโดนีเซียนั้นได้รับอิทธิพลจากหลากหลายวัฒนธรรม โดยได้รับอิทธิพลจาก[[สถาปัตยกรรมของอินเดีย]]เป็นหลัก ผสมผสานกับอิทธิพลจีน อาหรับ มุสลิม และยุโรป บ้านแบบดั้งเดิมของอินโดนีเซียเรียกรวม ๆ ว่า [[รูมะฮ์อาดัต]] (rumah adat) ซึ่งรูมะฮ์อาดัตแต่ละแบบก็ใช้การก่อสร้างและวัสดุในท้องถิ่น ถือ้ป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของชนเผ่าพื้นเมืองแต่ละเผ่า<ref>{{cite book|title=Indonesian Houses: Tradition and Transformation in Vernacular Architecture|editor1=Reimar Schefold|editor2=P. Nas|editor3=Gaudenz Domenig|page=5|publisher=NUS Press|year=2004|isbn=978-9971-69-292-6|url=https://books.google.com/?id=Oup15S3lTDAC}}</ref> เช่น [[รูมะฮ์กาดัง]]ที่พบใน[[สุลาเวสีใต้]], [[ตงโกนัน]]หรือบ้านหลังคาทรงเรือ, ศาลาแบบ[[เป็นโดโป]], หลังคาแบบ[[จ็อกโล]] ของ[[วัฒนธรรมชวา]], [[บ้านยาว]] และ [[รูมะฮ์เมลายู]]หรือบ้านมาเลย์ ของ[[ชาวดายัก]], [[สถาปัตยกรรมบาหลี]]ที่พบใน [[โบสถ์พราหมณ์แบบบาหลี]] (ปูรา) และ โรงนา (ลัมบัง)
 
บรรทัด 210:
=== อาหาร ===
{{หลัก|อาหารอินโดนีเซีย}}
[[Fileไฟล์:Nasi ramas rendang.JPG|thumb|left|''[[นาซีปาดัง]]'', ''[[เร็นดัง]]'', ''[[กูไล]]'' และผักนานาชนิด]]
อาหารอินโดนีเซียมีความหลากหลายสูงมาก<ref>{{cite web|url=https://www.sbs.com.au/food/article/2008/07/01/about-indonesian-food|title=About Indonesian food|publisher=Special Broadcasting Service|date=13 May 2015|accessdate=21 May 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150521014618/https://www.sbs.com.au/food/article/2008/07/01/about-indonesian-food|archivedate=21 May 2015}}</ref><ref name="Tumpeng">{{cite web|url=http://www.thejakartapost.com/news/2014/02/10/celebratory-rice-cone-dish-represent-archipelago.html|title=Celebratory rice cone dish to represent the archipelago|author=Natahadibrata, Nadya|publisher=The Jakarta Post|date=10 February 2014|accessdate=14 July 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140714213059/http://www.thejakartapost.com/news/2014/02/10/celebratory-rice-cone-dish-represent-archipelago.html|archivedate=14 July 2014}}</ref> อาหารพื้นเมืองได้รับอิทธิพลจากจีน อาหรับ และยุโรป รวมทั้งเครื่องเทศทั้งที่พบในท้องถิ่นและนำเข้ามาปลูกจากอินเดีย<ref>{{cite book|author=Witton, Patrick|title=World Food: Indonesia|publisher=[[Lonely Planet]]|year=2002|location=Melbourne|isbn=978-1-74059-009-9}}</ref> ข้าวเป็นอาหารหลักในอาหารออนโดนีเซีย ทานคู่กับอาหารคาว ส่วนมากปรุงรสด้วยเครื่องเทศ พริก กะทิ ปลา เนื้อไก่ เป็นวัตถุดิบหลัก<ref>{{cite book|author=Brissendon, Rosemary|title=South East Asian Food|publisher=Hardie Grant Books|year=2003|location=Melbourne|isbn=978-1-74066-013-6}}</ref>