ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรธรรมลาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Depanom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนกลับไปยังรุ่นเดิมเพิ่มโดยขาดอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Sign of Wat Sri Ubon Rattanaram, Ubon Ratchathani.jpg|thumb|300px|ป้ายชื่อ[[วัดศรีอุบลรัตนาราม]] ตำบลในเมือง [[อำเภอเมืองอุบลราชธานี]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] อักษรในป้ายนี้เขียนด้วยอักษรธรรมล้านช้าง<br />'''รูปปริวรรตอักษรไทย:''' "วฺดสฺรีอุบนรตฺตนาราม"<br />'''คำอ่าน:''' "วัดศรีอุบลรัตนาราม"]]
'''อักษรธรรมลาว''' (อักษรธัมม์ลาว) หรือ '''อักษรธรรมล้านช้าง''' ออกเสียงในท้องถิ่นว่า โตธัมม์ (โตทำ) หรือ ตัวธัมม์ เป็นอักษรที่มีวิวัฒนาการมาจาก[[อักษรสมัยหลังปัลลวะมอญ]] เป็นต้นกำเนิดของและ[[อักษรธรรมล้านนา (อักษรลาวยวนในภาษาลาว) อักษรธรรมลื้อ และอื่น ๆ มีลักษณะความสัมพันธ์กับอักษรมอญโบราณอยู่บ้าง ถือเป็นอักษรโบราณสำคัญชนิดหนึ่งของภูมิภาคอุษาคเนย์ บางครั้งจึงเรียกว่าอักษรลาวบูฮาน (อักษรลาวโบราณ)]] ใช้ในการเขียนคัมภีร์ทางพระ[[พุทธศาสนา]]ตลอดจนคัมภีร์ที่เกี่ยวเนื่องกับความเชื่อและตำนานเมืองในสมัยโบราณของชาวลาวและชาติพันธุ์เนื่องในวัฒนธรรมลาวทั้งสองฝั่งแม่น้ำโขง รวมถึงบางส่วนของอาณาจักรล้านนา สามารถเขียนคำที่มาจาก[[ภาษาบาลี]]-[[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] ได้ครบถ้วน และใช้ในการเขียน[[ภาษาลาว]]และภาษาไทยได้ด้วย แต่ใช้เขียนภาษาลาวปัจจุบันในบางกรณีเท่านั้น ส่วนกรณีการใช้เขียนภาษาไทยนั้นไม่เป็นที่นิยมมากที่สุดใช้ อักษรชนิดนี้ในปัจจุบันไม่นิยมใช้เขียน และกำลังเสื่อมสูญไป จะพบตามคัมภีร์ใบลานเก่า ๆเก่าๆ ที่เรียกว่า[[หนังสือผูก]]หรือลานธัมม์ และยังมีใช้อยู่บ้างในองค์กรทางพระพุทธศาสนาของลาวและอีสาน รวมถึงในสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวกับสาขาภาษาท้องถิ่น ในประเทศไทยสามารถพบอักษรชนิดนี้ได้ทั่วไปในภาคอีสานเนื่องจากเคยเป็นอาณาจักรเดียวกันกับสปป.ลาวในอดีตเช่นกัน หากแต่ถูกบัญญัติศัพท์ใหม่เรียกกันว่า "อักษรธรรมอีสาน" ตามชื่อภูมิภาคท้องถิ่นที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
 
== ดูเพิ่ม ==