ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดคาร์บอกซิลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขบางส่วน
บรรทัด 11:
[[ออกซิเจน]] 2 อะตอมในโมเลกุลมีแนวโน้มที่จะดึงเอา[[อิเล็กตรอน]]มาจากอะตอม[[ไฮโดรเจน]] ซึ่งทำให้[[โปรตอน]] หลุดออกจากโมเลกุลได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ความป็นกรดของกรดคาร์บอกซิลิกยังสามารถอธิบายได้จากผลของ [[resonance (chemistry)|resonance]] effects นั่นคือเมื่อเกิดการแตกตัวของกรดคาร์บอกซิลิกประจุลบจะเกิดการเคลื่อนที่ (delocalized) ระหว่างออกซิเจนอะตอม 2 อะตอมทำให้โมเลกุลเสถียรขึ้น นอกจากนี้ พันธะระหว่างคาร์บอน-ออกซิเจนจะมีลักษณะที่เรียกว่า กึ่งพันธะคู่ (partial double bond characteristic)
 
ใน [[อินฟราเรดสเปคตรัม]] (infrared spectrometry) สเปคตรัมของหมู่ไฮดรอกซี (O-H) ของหมู่คาร์บอกซิล (carboxyl group) ปรากฏที่ตำแหน่ง 2500 ถึง 3000 cm<sup>-1</4sup> ใน <sup>1</sup>H NMR spectrometry สเปคตรัมของไฮโดรเจนของหมู่ไฮดรอกซี ปรากฏที่ตำแหน่ง 10-13 ppm555
 
 
[[หมวดหมู่:สารประกอบอินทรีย์]]