ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดแล็กติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 62:
}}
}}
'''กรดแล็กติก''' หรือ '''กรดน้ำนม''' เป็นสารประกอบเคมีซึ่งมีบทบาทในกระบวนการทางชีวเคมีหลายอย่าง แยกได้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1870 โดย[[คาร์ล วิลเฮล์ม ชีลเลอ]] นักเคมีชาวสวีเดน กรดแล็กติกเป็น[[กรดคาร์บ็อกซิลิกบอกซิลิก]]มีสูตรเคมี C<sub>2</sub>H<sub>4</sub>OHCOOH มีหมู่ไฮดรอกซิลติดกับหมู่คาร์บ็อกซิลบอกซิล ทำให้เป็นกรดแอลฟาไฮดร็อกซี (AHA)
 
ในสารละลาย สามารถเสีย[[โปรตอน]]จากหมู่คาร์บ็อกซิล ทำให้ได้ไอออน'''แล็กเตต''' CH<sub>3</sub>CH(OH)COO<sup>−</sup> pK<sub>a</sub> น้อยกว่า 1 หน่วยเมื่อเทียบกับ[[กรดแอซิติก]] หมายความว่า กรดแล็กติกเสียโปรตอนได้ง่ายกว่ากรดแอซิติกสิบเท่า ความเป็นกรดที่สูงกว่านี้เป็นผลจากสะพานไฮโดรเจนในโมเลกุลระหว่างหมู่แอลฟาไฮดร็อกซิลกับหมู่คาร์บ็อกซิเลต ทำให้หมู่คาร์บ็อกซิเลตดึงดูดโปรตอนของมันได้เข้มน้อยลง
บรรทัด 68:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|แล็กติก}}
[[หมวดหมู่:สรีรวิทยาการออกกำลังกาย]]