ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิวัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
นำส่วนนำกลับมา
บรรทัด 1:
* [[{{ระวังสับสน|รัฐประหาร]]}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''ปฏิวัติ''' คือ การเปลี่ยนแปลงหลักมูลในโครงสร้างอำนาจหรือการจัดระเบียบซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลาค่อนข้างสั้น
ปฏิวัติเกิดขึ้นตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์และแปรผันหลากหลายในแง่วิธีการ ระยะเวลาและอุดมการณ์จูงใจ ผลแห่งปฏิวัติรวมถึงการเปลี่ยนแปลงสถาบันวัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคม-การเมืองครั้งใหญ่
มีการถกเถียงในเชิงวิชาการว่าสิ่งใดประกอบหรือไม่ประกอบเป็นปฏิวัติโดยมุ่งไปยังหลายประเด็น การศึกษาปฏิวัติยุคแรกวิเคราะห์เหตุการณ์ใน[[ประวัติศาสตร์ยุโรป]]จากมุมมองทาง[[จิตวิทยา]]เป็นหลัก แต่การตรวจสอบในภายหลังรวมถึงเหตุการณ์โลกและรวมมุมมองจาก[[สังคมศาสตร์]]หลายแขนง รวมทั้ง [[สังคมวิทยา]]และ[[รัฐศาสตร์]] ความคิดเชิงวิชาการว่าด้วยปฏิวัติหลายรุ่นได้สร้างทฤษฎีที่ขัดแย้งกันจำนวนมากและช่วยให้มีความเข้าใจปรากฏการณ์อันซับซ้อนนี้ในปัจจุบันมากขึ้น
 
==นิยาม==
คำว่าปฏิวัติในภาษาอังกฤษ (revolution) มีรากศัพท์จากภาษาละตินคือ ''revolutio'' และ ''revolvere'' แปลว่า หมุนกลับ (to turn around) คำนี้มีใช้ทั่วไปในทาง[[สังคมศาสตร์]] แต่ก็มีใช้ในทางวิทยาศาสตร์เช่นกัน เช่น [[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]] เป็นต้น<ref>Richard Pipes, "A Concise History of the Russian Revolution," Cited by http://chagala.com/russia/pipes.htm</ref>
เส้น 21 ⟶ 29:
 
แต่ในความเห็นอีกด้านหนึ่ง กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นการปฏิวัติรัฐประหาร เพราะเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monachy) กลายเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (Constitutional Monarchy) อันเป็นการปฏิวัติ แต่ก็เป็นการ[[รัฐประหาร]] (coup d'état) ด้วย เพราะใช้กำลังทหาร ควบคุม บังคับ ทำให้อำนาจรัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวสิ้นสุดลง(สำหรับฝ่ายที่ต่อต้านการปฏิวัติ) แต่กลุ่มการเมืองฝ่ายต่อต้านระบอบกษัตริย์ พยายามสร้างภาพให้เป็นเชิงบวก ว่าเป็นการปฏิวัติ หรืออภิวัฒน์ จนเรียกว่า สยามภิวัฒน์
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รัฐประหาร]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รัฐประหาร]]
 
{{รัฐประหารในไทย}}