ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูพิษเฟอา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
}}
 
'''งูพิษเฟียเฟอา''' ({{lang-en|Fea's viper}}; {{lang-zh|白頭蝰亞科}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Azemiops feae}}) เป็นงูเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ย่อย Azemiopinae และ[[genus|สกุล]] ''Azemiops'' ในวงศ์ใหญ่ [[Viperidae]]<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt จาก ITIS.gov {{en}}]</ref>
 
งูชนิดนี้ถูกได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแด่ แก่[[Leonardo Fea|ลีโอนาร์โดเลโอนาร์โด เฟียเฟอา]] นัก[[ธรรมชาติวิทยา]][[ชาวอิตาลี|ชาวอิตาเลียน]] โดย[[George Albert Boulenger|จอร์จฌอร์ฌ อัลเบิร์ตอาลแบร์ บุลเลเยอร์บูล็องเฌ]] นัก[[มีนวิทยา]]และนัก[[วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]][[ชาวฝรั่งเศส]]-[[เบลเยียม]]
 
มีลักษณะโดยรวมคือ ระหว่างตาและช่องจมูกไม่มีแอ่งรับคลื่น[[อินฟราเรด]] กระดูกพาลาทีนมีก้านกระดูกโคเอนัลชิ้นใหญ่ ทางด้านท้ายของกระดูกฟรีฟอนทัลและค่อนไปทางด้านในมีก้านกระดูกออร์ไบทัล
 
มีสีลำตัวที่โดดเด่นชัดเจนมาก โดยตามลำตัวเป็นสีฟ้าเทาอมดำและมีแต้มระหว่างเกล็ดเว้นระยะห่างกันประมาณ 1-1–2 ชิ้น มีลายแถบสีส้มขาว หัวมีขนาดเล็กเป็นสีส้ม[[เหลือง]]ตัดกับลำตัว [[ม่านตา]]เป็นสีส้มเหลืองในแนวตั้ง
 
มีขนาดความยาวประมาณ 60-60–70 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ตามกองใบไม้กิ่งไม้ตามพื้นดินของป่าที่มีความชื้นสูงและอุณหภูมิต่ำไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะใน[[ป่าไผ่]]และป่าเฟิร์นบนภูเขาสูงในระดับ 800-800–1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลากลางคืนและกิน[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ขนาดเล็กเป็นอาหาร
 
พบกระจายพันธุ์ในแถบเทือกเขาตั้งแต่ตอนเหนือของ[[เวียดนาม]], ภาคใต้ของ[[จีน]] ([[ฝูเจี้ยน|มณฑลฟูเจี้ยนฝูเจี้ยน]], [[มณฑลกวางสีเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง]], [[มณฑลเจียงซี]], [[มณฑลกุ้ยโจว]], [[มณฑลยูนนาน]], [[มณฑลเสฉวน]] และ[[มณฑลเจ้อเจียง]]), ตอนใต้ของ[[ธิเบตทิเบต]] และใน[[รัฐคะฉิ่นกะชีน]] ทางภาคเหนือของ[[พม่า]]
 
งูชนิดนี้มีพิษที่คล้ายคลึงกับพิษของงูชนิด ''[[Tropidolaemus wagleri]]'' และไม่มีผลต่อการแข็งตัวของเลือด<ref>วีรยุทธ์ เลาหะจินดา, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' หน้า 410 ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0 </ref><ref>[http://www.venomdoc.com/viper.html Dr. Bryan Grieg Fry: Viper Research". {{en}}]</ref><ref>[http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/7846698?dopt=Abstract Studies on venom and venom apparatus of Fea's viper, ''Azemiops feae''. {{en}}]</ref><ref>Mallow D, Ludwig D, Nilson G. 2003. ''True Vipers: Natural History and Toxinology of Old World Vipers''. Krieger Publishing Company. 359 pp. ISBN 0-89464-877-2. </ref>
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Azemiops feae|''Azemiops feae''งูพิษเฟอา}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies-inline|Azemiops feae}}