ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนั่น เกตุทัต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ตัดสำนวนไม่เป็นสารานุกรม
บรรทัด 5:
'''อาจารย์สนั่น เกตุทัต''' เกิดเมื่อวันพุธที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2458 ณ บ้านถนนนครสวรรค์ [[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นบุตรคนที่ 4 ในบรรดาพี่น้องรวม 7 คน ของพระพิเรนทรเทพบดีศรีสมุห (เนียน เกตุทัต) กับ นางสงวน เกตุทัต (วิริยศิริ) บิดารับราชการกระทรวงมหาดไทย และเมื่ออาจารย์สนั่นอายุประมาณ 6 - 7 ขวบ บิดาย้ายไปเป็นตำรวจรักษาพระองค์อยู่[[กระทรวงวัง]] และเช่าบ้านในตรอกวัดสามพระยา จึงได้เข้าเรียนชั้นประถมปีที่ 1 ที่โรงเรียนวัดสามพระยา
 
อาจารย์สนั่นเรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดสามพระยาจนจบชั้นมัธยมปีที่ 3 จึงย้ายไปเรียนต่อชั้นมัธยมปีที่ 4 ที่[[โรงเรียนวัดราชาธิวาส]] ซึ่งเป็นช่วงที่บิดาปลูกบ้านใหม่อยู่ในซอย[[วัดราชาธิวาส]]ใกล้ๆกับวัด และไปเรียนต่อชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ ชีวิตในวัยรุ่นของอาจารย์สนั่นเป็นชีวิตที่รื่นรมย์ สนุกสนาน ชีวิตอยู่กับแม่น้ำเจ้าพระยา ชอบเล่นน้ำ เล่นกีฬามาก จนไม่มีเวลาอ่านหนังสือทำให้สอบตกในชั้นมัธยมปีที่ 7 และสอบตกอีกเมื่อเรียนชั้นมัธยมปีที่ 8 แต่ด้วยความมานะและตั้งใจจริงอันเป็นนิสัยติดตัวมาตั้งแต่เด็ก ทำให้สำเร็จชั้นมัธยมปีที่ 8 ได้ใน พ.ศ. 2476 และมีความรับผิดชอบในชีวิตมากขึ้น เป็นผู้ใหญ่ขึ้น ประกอบกับเริ่มมีความรักชอบกับหลานพระยานรรัตนราชมานิตชื่อ “สัจจา”
 
พ.ศ. 2478 เข้าเรียนต่อระดับปริญญาตรีที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง]] ด้วยมีใจรักที่จะเป็น[[ผู้พิพากษา]] จนสอบได้เป็นธรรมศาสตร์บัณฑิตในปี พ.ศ. 2471 และมีคะแนนสูงสุดเป็นอันดับที่ 1 ระดับประเทศของผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 69 คน สร้างความประหลาดใจและดีใจให้กับครอบครัวโดยไม่มีใครคาดคิดมาก่อน เพราะผลการเรียนในระดับมัธยมต้นปานกลางเท่านั้น แถมยังสอบตกในชั้นมัธยมปลายเสียอีก แต่หากพิจารณาจากอุปนิสัย และพฤติกรรมต่างๆ แล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นคนตั้งใจจริง เด็ดเดี่ยว มีความพยายามเป็นยอด จึงไม่น่าแปลกใจที่ทำได้
 
ด้วยอาจารย์สนั่น เกตุทัต มีความตั้งใจเดิมแล้วว่า อนาคตจะเป็นผู้พิพากษา ดังนั้นเมื่อจบชั้นมัธยมปีที่ 8 แล้วจึงไปสมัครเข้าทำงานในตำแหน่งเสมียนกองล่ามและชวเลข สำนักงานปลัด[[กระทรวงยุติธรรม]] ได้รับพระราชทานเงินเดือน เดือนละ 20 บาท และย้ายไปเป็นเสมียนประจำกรมการศาลฎีกา ([[ผู้พิพากษาศาลฎีกา]]) [[กระทรวงยุติธรรม]] ประจำตัวพระยาพลางกูรธรรมวิจัย ทำงานในตำแหน่งนี้เกือบ 4 ปี ได้รับพระราชทานเงินเดือนขึ้นปีละ 2 บาท ในขณะนั้นกำลังเรียนอยู่ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองด้วย อาจารย์สนั่นจึงได้เรียนทฤษฎีและนำไปใช้ปฏิบัติงานจริง สั่งสมความรู้และประสบการณ์ต่อมาทำงานด้านกฎหมายนกฎหมาย สำนวน คดีความ คำพิพากษา ตลอดจนรวบรวมคำพิพากษาฎีกาต่าง ๆ ไว้มากมาย เพื่อจะต่อมาได้ใช้ประโยชน์เมื่อเป็นผู้พิพากษาตามที่ตั้งความหวังไว้ แต่สิ่งที่วาดหวังไว้อย่างสวยงามต้องสลายไปในที่สุด นับเป็นจุดหักเหจุดสำคัญของชีวิตที่ไม่เคยคาดคิดมาก่อนเส้นทางสายผู้พิพากษาที่วาดหวังไว้ต้องสะดุด เนื่องจากกระทรวงยุติธรรมมีระเบียบกำหนดให้ผู้ที่จะเป็นผู้พิพากษานั้นจะต้องเป็น[[สละสิทธิ์ตำแหน่งจ่าศาล]]มาก่อน ซึ่งในขณะมีตำแหน่งว่างที่จังหวัด[[แม่ฮ่องสอน]]เพียงแห่งเดียว และเพราะบิดาของท่านทัดทานไว้เนื่องจากเห็นว่าเป็นจังหวัดที่อยู่ห่างไกลติดต่อสื่อสารและไปมาหาสู่กันลำบาก อาจารย์สนั่นจึงขอสละสิทธิ์ในการไปรับตำแหน่งดังกล่าว
 
ใน พ.ศ. 2482 หลังจากอาจารย์สนั่น เกตุทัต ไปขอสละสิทธิ์ตำแหน่งจ่าศาลแล้ว ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น [[กรมสรรพากร]]ประกาศรับสมัครบุคคลที่เป็นธรรมศาสตร์บัณฑิต หรือ[[เนติบัณฑิต]] เข้ารับราชการในตำแหน่งที่ต้องใช้วิชากฎหมายประจำกองข้าหลวงตรวจการสรรพากรภาค จำนวน 5 คน เพื่อไปประจำตามภาคต่างๆ มี 5 ภาค อาจารย์สนั่นไปสมัครสอบและสอบได้เป็นอันดับที่ 2 มีสิทธิ์ได้เลือกไปประจำภาคตามความสมัครใจของผู้สอบได้อันดับต่างๆ อาจารย์สนั่นตัดสินใจเลือกอยู่กองข้าหลวงตรวจการ จึงได้เริ่มงานที่[[กระทรวงการคลัง]]ในตำแหน่งสรรพากรภาค 3 จังหวัดนครราชสีมา ภายหลังจากจบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง และได้กลับมาสมรสกับนางสาวสัจจา จันทรวณิค ที่กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2485 ต่อมาได้ย้ายไปประจำแผนกกองตรวจการสรรพากร ภาค 4 จังหวัดมหาสารคาม จนมีบุตรชายคนแรก คือ เด็กชายณรงค์ เกตุทัต (คุณณรงค์ เกตุทัต กรรมการอำนวยการมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์)
พ.ศ. 2486 - 2495 อาจารย์สนั่น เกตุทัต ได้ย้ายมาประจำในกรุงเทพมหานคร และทำงานในตำแหน่งหัวหน้าแผนก[[ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา]] ประจำกรมสรรพากร ในเขตสรรพากรภาค 1 เป็นงานที่หนักมาก เพราะจำนวนผู้เสียภาษีในเขตสรรพากรภาค 1 มีถึง 17 จังหวัด และเป็นช่วงเวลาที่กำลังมีสงครามมหาเอเชียบูรพา กลางคืนต้องพรางไฟ ทุกคนอยู่กันด้วยความหวาดผวากับภัยทางอากาศที่มีเครื่องบินเข้ามาทิ้งระเบิดไม่เว้นแต่ละคืน เสียงสัญญาณเตือนภัยดังครวญครางแทบทุกคืน อาจารย์สนั่นจึงอพยพครอบครัวหลบภัยไปอยู่ตามที่ต่างๆ หลายแห่ง ครั้งสุดท้ายอพยพไปอยู่ในคลองบางระมาด ฝั่งธนบุรี และ ณ ที่นี้ อาจารย์สนั่นได้มีบุตรอีกหนึ่งคน คือ เด็กหญิงสมศรี เกตุทัต (อาจารย์สมศรี (เกตุทัต) ลัทธพิพัฒน์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และกรรมการอำนวยการมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์)
 
พ.ศ. 2486 - 2495 อาจารย์สนั่น เกตุทัต ได้ย้ายมาประจำในกรุงเทพมหานคร และทำงานในตำแหน่งหัวหน้าแผนก[[ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา]] ประจำกรมสรรพากร ในเขตสรรพากรภาค 1 เป็นงานที่หนักมาก เพราะจำนวนผู้เสียภาษีในเขตสรรพากรภาค 1 มีถึง 17 จังหวัด และเป็นช่วงเวลาที่กำลังมีสงครามมหาเอเชียบูรพา กลางคืนต้องพรางไฟ ทุกคนอยู่กันด้วยความหวาดผวากับภัยทางอากาศที่มีเครื่องบินเข้ามาทิ้งระเบิดไม่เว้นแต่ละคืน เสียงสัญญาณเตือนภัยดังครวญครางแทบทุกคืน อาจารย์สนั่นจึงอพยพครอบครัวหลบภัยไปอยู่ตามที่ต่างๆ หลายแห่ง ครั้งสุดท้ายอพยพไปอยู่ในคลองบางระมาด ฝั่งธนบุรี และ ณ ที่นี้ อาจารย์สนั่นได้มีบุตรอีกหนึ่งคน คือ เด็กหญิงสมศรี เกตุทัต (อาจารย์สมศรี (เกตุทัต) ลัทธพิพัฒน์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และกรรมการอำนวยการมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์)
อาจารย์สนั่นทำงานในแผนกภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอยู่หลายปี จึงได้เลื่อนชั้นรับตำแหน่งใหม่เป็นหัวหน้ากองนิติการ ทำหน้าที่ด้านกฎหมายโดยเฉพาะ และในปี พ.ศ. 2497 ได้ไปดำรงตำแหน่งสรรพากรภาค 7 (นครปฐม) อีกตำแหน่งหนึ่ง เนื่องจากกรมสรรพากรได้ขยายภาคจาก 5 ภาค ขึ้นเป็น 9 ภาค ทำให้ต้องเดินทางไปทำงานไปมาทั้งสองแห่ง ผลจากการที่ได้ทำงานหลายหน้าที่จึงได้เลื่อนชั้นเป็นนิติกรพิเศษ แล้วเลื่อนตำแหน่งต่อไปเป็นผู้อำนวยการกองนิติการ ในปี พ.ศ. 2499 ขณะมีอายุ 41 ปี ช่วงเวลาที่อยู่กองนิติการนี้ อาจารย์สนั่นได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษาหลายแห่ง ได้แก่ [[วิทยาลัยกรุงเทพการบัญชี]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ทำหน้าที่สอนวิชากฎหมายภาษีอากร ให้นักศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ทำให้อาจารย์สนั่น ได้นำความเป็น “[[ครู]]” ไปใช้ในการทำราชการด้วย
 
อาจารย์สนั่นทำงานในแผนกภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอยู่หลายปี จึงได้เลื่อนชั้นรับตำแหน่งใหม่เป็นหัวหน้ากองนิติการ ทำหน้าที่ด้านกฎหมายโดยเฉพาะ และในปี พ.ศ. 2497 ได้ไปดำรงตำแหน่งสรรพากรภาค 7 (นครปฐม) อีกตำแหน่งหนึ่ง เนื่องจากกรมสรรพากรได้ขยายภาคจาก 5 ภาค ขึ้นเป็น 9 ภาค ทำให้ต้องเดินทางไปทำงานไปมาทั้งสองแห่ง ผลจากการที่ได้ทำงานหลายหน้าที่จึงได้เลื่อนชั้นเป็นนิติกรพิเศษ แล้วเลื่อนตำแหน่งต่อไปเป็นผู้อำนวยการกองนิติการ ในปี พ.ศ. 2499 ขณะมีอายุ 41 ปี ช่วงเวลาที่อยู่กองนิติการนี้ อาจารย์สนั่นได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษาหลายแห่ง ได้แก่ [[วิทยาลัยกรุงเทพการบัญชี]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ทำหน้าที่สอนวิชากฎหมายภาษีอากร ให้นักศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ทำให้อาจารย์สนั่น ได้นำความเป็น “[[ครู]]” ไปใช้ในการทำราชการด้วย
อาจารย์สนั่น ทุ่มเทให้กับงานภาษีอากรหลายปี จนในปี พ.ศ. 2508 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น รองอธิบดีกรมสรรพากรฝ่ายปราบปราม เป็นตำแหน่งสำคัญที่ต้องมีความรับผิดชอบสูง ต้องดูแลควบคุมการจัดเก็บภาษีอากรทุกประเภททั่วราชอาณาจักร อาจารย์สนั่นใช้ความรู้ความสามารถในการทำงานอย่างเต็มที่ เพื่อให้งานจัดเก็บภาษีของรัฐดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลัก “ทุ่มเท จริงจัง และซื่อสัตย์สุจริต” เป็นที่ตั้ง อาจารย์สนั่น ทำงานในตำแหน่งรองอธิบดีกรมสรรพากรอยู่ 4 ปีและในปี พ.ศ. 2511 ได้รับแต่งตั้งให้เป็น อธิบดี[[กรมธนารักษ์]] ซึ่งต้องดูแลทรัพย์สินของแผ่นดินทั่วประเทศ ตลอดจนควบคุม ดูแลเกี่ยวกับการผลิต[[เหรียญกษาปณ์]]ทุกชนิด อาจารย์สนั่นได้ขยายงานโดยกำหนดให้มีเจ้าหน้าที่กรมธนารักษ์ประจำจังหวัดทุกจังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งเป็นการกระจายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบไปยังจังหวัดต่างๆ ทำให้งานดูแลทรัพย์สินของแผ่นดินเป็นไปอย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพอาจารย์สนั่นเป็นอธิบดีกรมธนารักษ์จนถึง พ.ศ. 2515 ตำแหน่งอธิบดี[[กรมศุลกากร]]ว่างลง ปลัดกระทรวงการคลังขณะนั้น คือ คุณบุญมา วงษ์สวรรค์ ประสงค์จะให้อาจารย์สนั่นไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศุลกากร อาจเป็นเพราะได้เห็นผลงาน และความสามารถของอาจารย์สนั่นเกี่ยวกับการดูแลจัดเก็บภาษีที่กรมสรรพากรมาแล้ว อาจารย์สนั่นจึงต้องไปรับตำแหน่ง อธิบดีกรมศุลกากร ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ ทำหน้าที่ควบคุมและจัดเก็บภาษีเกี่ยวกับสินค้านำเข้าและสินค้าส่งออกบางชนิด ควบคุมและปราบปรามการลักลอบสินค้านำเข้าโดยไม่เสียภาษีของกลุ่มบุคคลบางกลุ่ม ซึ่งเป็นงานที่ไม่ยาก แต่ค่อนข้างเสี่ยงอันตราย อาจารย์สนั่นเป็นอธิบดีกรมศุลกากรได้เพียงปีเศษๆ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๖ อาจารย์ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการคลัง ซึ่งถือว่าเป็นตำแหน่งสูงสุดของการเป็นข้าราชการประจำ และในช่วงเวลาไม่ห่างกันเท่าใดนัก อาจารย์ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ดำรงตำแหน่ง[[สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย
 
อาจารย์สนั่น ทุ่มเทให้กับงานทำงานด้านภาษีอากรหลายปี จนในปี พ.ศ. 2508 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น รองอธิบดีกรมสรรพากรฝ่ายปราบปราม เป็นตำแหน่งสำคัญที่ต้องมีความรับผิดชอบสูง ต้องดูแลควบคุมการจัดเก็บภาษีอากรทุกประเภททั่วราชอาณาจักร อาจารย์สนั่นใช้ความรู้ความสามารถในการทำงานอย่างเต็มที่ เพื่อให้งานจัดเก็บภาษีของรัฐดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลัก “ทุ่มเท จริงจัง และซื่อสัตย์สุจริต” เป็นที่ตั้ง อาจารย์สนั่น ทำงานในตำแหน่งรองอธิบดีกรมสรรพากรอยู่ 4 ปีและในปี พ.ศ. 2511 ได้รับแต่งตั้งให้เป็น อธิบดี[[กรมธนารักษ์]] ซึ่งต้องดูแลทรัพย์สินของแผ่นดินทั่วประเทศ ตลอดจนควบคุม ดูแลเกี่ยวกับการผลิต[[เหรียญกษาปณ์]]ทุกชนิด อาจารย์สนั่นได้ขยายงานโดยกำหนดให้มีเจ้าหน้าที่กรมธนารักษ์ประจำจังหวัดทุกจังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งเป็นการกระจายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบไปยังจังหวัดต่างๆ ทำให้งานดูแลทรัพย์สินของแผ่นดินเป็นไปอย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ อาจารย์สนั่นเป็นอธิบดีกรมธนารักษ์จนถึง พ.ศ. 2515 ตำแหน่งอธิบดี[[กรมศุลกากร]]ว่างลง ปลัดกระทรวงการคลังขณะนั้น คือ คุณบุญมา วงษ์สวรรค์ ประสงค์จะให้อาจารย์สนั่นไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศุลกากร อาจเป็นเพราะได้เห็นผลงาน และความสามารถของอาจารย์สนั่นเกี่ยวกับการดูแลจัดเก็บภาษีที่กรมสรรพากรมาแล้ว อาจารย์สนั่นจึงต้องไปรับตำแหน่ง อธิบดีกรมศุลกากร ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕2515 ทำหน้าที่ควบคุมและจัดเก็บภาษีเกี่ยวกับสินค้านำเข้าและสินค้าส่งออกบางชนิด ควบคุมและปราบปรามการลักลอบสินค้านำเข้าโดยไม่เสียภาษีของกลุ่มบุคคลบางกลุ่ม ซึ่งเป็นงานที่ไม่ยาก แต่ค่อนข้างเสี่ยงอันตราย อาจารย์สนั่นเป็นอธิบดีกรมศุลกากรได้เพียงปีเศษๆ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๖ อาจารย์ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการคลัง ซึ่งถือว่าเป็นตำแหน่งสูงสุดของการเป็นข้าราชการประจำ และในช่วงเวลาไม่ห่างกันเท่าใดนัก อาจารย์ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ดำรงตำแหน่ง[[สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย
อาจารย์สนั่น เกตุทัต เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์สูงในการทำงาน โดยเฉพาะงานของกระทรวงการคลัง ที่ประกอบด้วยกรมกองมากมาย กรมใหญ่ ๆ ในกระทรวงนี้ อาจารย์ก็เคยทำมาแล้วทั้งในฐานะผู้ปฏิบัติ และในฐานะผู้บริหาร ดังนั้น หลังจากที่ทำงานในตำแหน่งปลัดกระทรวงผ่านไปได้ 6 เดือน ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้อาจารย์สนั่น เกตุทัต ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในคณะรัฐบาลที่มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์[[สัญญา ธรรมศักดิ์]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] อาจารย์สนั่นปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งปลัดกระทรวงควบคู่กับการเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อยู่ระยะหนึ่ง เมื่อมีเหตุการณ์ทางการเมืองที่ทำให้อาจารย์ต้องลำบากใจในการทำงาน จึงขอลาออกจากการเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง คงทำหน้าที่เฉพาะตำแหน่งปลัดกระทรวงเพียงตำแหน่งเดียว จนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2518
 
อาจารย์สนั่น เกตุทัต เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์สูงในการทำงาน โดยเฉพาะงานของกระทรวงการคลัง ที่ประกอบด้วยกรมกองมากมาย กรมใหญ่ ๆ ในกระทรวงนี้ อาจารย์ก็เคยทำมาแล้วทั้งในฐานะผู้ปฏิบัติ และในฐานะผู้บริหาร ดังนั้น หลังจากที่ทำงานในตำแหน่งปลัดกระทรวงผ่านไปได้ 6 เดือน ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้อาจารย์สนั่น เกตุทัต ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในคณะรัฐบาลที่มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์[[สัญญา ธรรมศักดิ์]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] อาจารย์สนั่นปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งปลัดกระทรวงควบคู่กับการเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อยู่ระยะหนึ่ง เมื่อมีเหตุการณ์ทางการเมืองที่ทำให้อาจารย์ต้องลำบากใจในการทำงาน จึงขอลาออกจากการเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง คงทำหน้าที่เฉพาะตำแหน่งปลัดกระทรวงเพียงตำแหน่งเดียว จนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2518
ฉากแห่งเส้นทางการทำงานเพื่อรับใช้สังคมและประเทศชาติอันยาวนานถึงเกือบ 40 ปี ในฐานะข้าราชการประจำของคนคนหนึ่ง ที่เริ่มต้นจากการเป็น “ เสมียน” อันเป็นตำแหน่งต่ำสุด ก้าวไปถึง “ปลัดกระทรวง” ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดของการเป็นข้าราชการประจำ อาจจะไม่ราบเรียบสวยงามเหมือนปูด้วยพรมเนื้อดี แต่ทุกย่างก้าวก็เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจ มั่งคง สะอาด และบริสุทธิ์ นับเป็นความงดงามแห่งชีวิตที่ควรได้รับการจารึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์ของตระกูล “เกตุทัต”
 
อาจารย์สนั่น เกตุทัต ถึงแก่อนิจกรรมด้วย[[โรคหัวใจล้มเหลว]] เมื่อวันศุกร์ที่ 11 มีนาคม 2548 ศิริอายุ 89 ปี เมื่อท่านสิ้นชีวิต ได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมรับศพของท่านไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ โดยได้พระราชทาน[[โกศแปดเหลี่ยม]]เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศ พระราชทานพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมในเจ็ดวันแรก พระราชทานพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลครบ 50 วัน 100 วัน และพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลในการออกเมรุ รวมทั้งได้ทรงพระราชกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ในการพระราชทานเพลิงศพ