ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาราศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 101.108.251.96 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Kasidetkong1234
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 12:
ในปี [[ค.ศ. 2009]] นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่อง[[แบบจำลองแบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล|ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล]] ของ [[นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส]] อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่อง[[แบบจำลองแบบโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล|โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล]]ของ[[อริสโตเติล]]ที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้[[กล้องโทรทรรศน์]]สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของ[[กาลิเลโอ]]ซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส [[องค์การสหประชาชาติ]]จึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็น[[ปีดาราศาสตร์สากล]] มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น
 
== ประวัติจ้า ==
ดาราศาสตร์นับเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดวิชาหนึ่ง เพราะนับตั้งแต่มีมนุษย์อยู่บนโลก เขาย่อมได้เห็นได้สัมผัสกับ[[สิ่งแวดล้อม]]ตาม[[ธรรมชาติ]]เสมอมา แล้วก็เริ่มสังเกตจดจำและเล่าต่อ ๆ กัน เช่น เมื่อมองออกไปรอบตัวเห็นพื้นดินราบ ดูออกไปไกล ๆ ก็ยังเห็นว่าพื้นผิวของโลกแบน จึงคิดกันว่า[[โลก]]แบน มองฟ้าเห็นโค้งคล้ายฝาชีหรือโดม มีดาวให้เห็นเคลื่อนข้ามศีรษะไปทุกคืน กลางวันมีลูกกลมแสงจ้า ให้[[แสง]] [[สี]] [[ความร้อน]] ซึ่งก็คือ [[ดวงอาทิตย์]] ที่เคลื่อนขึ้นมาแล้วก็ลับขอบฟ้าไป ดวงอาทิตย์จึงมีความสำคัญกับเรามว๊ากเลยจ้ามาก
 
การศึกษาดาราศาสตร์ในยุคแรก ๆ เป็นการเฝ้าดูและคาดเดาการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้าเหล่านั้นที่สามารถ[[มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า]] ก่อนยุคสมัยที่[[กล้องโทรทรรศน์]]จะถูกประดิษฐ์ขึ้น มีสิ่งปลูกสร้างโบราณหลายแห่งที่เชื่อว่าเป็นสถานที่สำหรับการเฝ้าศึกษาทางดาราศาสตร์ เช่น [[สโตนเฮนจ์]] นอกจากนี้การเฝ้าศึกษาดวงดาวยังมีความสำคัญต่อพิธีกรรม ความเชื่อ และเป็นการบ่งบอกถึงการเปลี่ยนฤดูกาล ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อสังคมเกษตรกรรมการเพาะปลูก รวมถึงเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงระยะเวลา วัน เดือน ปี<ref>George Forbes (1909) (Free e-book from [[โครงการกูเต็นเบิร์ก|Project Gutenberg]]). [http://www.gutenberg.org/etext/8172 History of Astronomy]. London: Watts & Co.. http://www.gutenberg.org/etext/8172.</ref>
บรรทัด 44:
ในทางดาราศาสตร์ [[สารสนเทศ]]ส่วนใหญ่ได้จากการตรวจหาและวิเคราะห์[[โฟตอน]]ซึ่งเป็น[[การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า]]<ref>[http://imagine.gsfc.nasa.gov/docs/science/know_l1/emspectrum.html "Electromagnetic Spectrum"]. NASA. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-09-08.</ref> แต่อาจได้จากข้อมูลที่มากับ[[รังสีคอสมิก]] [[นิวตริโน]] [[ดาวตก]] และในอนาคตอันใกล้อาจได้จาก[[คลื่นความโน้มถ่วง]]
 
การแบ่งหมวดของดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์สามารถแบ่งได้ตามการสังเกตการณ์[[สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า]]ในย่านต่าง ๆ โดยการสังเกตการณ์บางย่านสเปกตรัมสามารถกระทำได้บนพื้นผิวโลก แต่บางย่านจะสามารถทำได้ในชั้นบรรยากาศสูงหรือใน[[อวกาศ]]เท่านั้น การสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในย่านสเปกตรัมต่าง ๆ แสดงดังรายละเอียดต่อไปนั้นนี้
 
=== ดาราศาสตร์วิทยุ ===