ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4280:864A:1:2:DF39:101A (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย EZBELLA
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไข Infobox
บรรทัด 1:
{{Infobox spaceflight|name=''วอยเอเจอร์ 1''|image=Voyager spacecraft model.png|image_caption=ภาพจำลองของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์''|image_alt=ยานสำรวจขนาดเล็กประกอบด้วยจานส่งสัญญาณขนาดใหญ่และเสาอากาศแบบกางออกจากตัวยาน|mission_type=การสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก อวกาศชั้นเฮลิโอสเฟียร์ และมวลสารระหว่างดาว (interstellar medium)|operator=[[นาซา]] / [[Jet Propulsion Laboratory]]|website={{url|https://voyager.jpl.nasa.gov/}}|COSPAR_ID=1977-084A<ref name="nasa.084A">{{cite web | url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | title=Voyager 1 | publisher=NASA/NSSDC | work=NSSDC Master Catalog | accessdate=August 21, 2013 | archive-url=https://web.archive.org/web/20131214045307/http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | archive-date=December 14, 2013 | dead-url=yes | df=mdy-all }}</ref>|SATCAT=10321<ref name="n2yo.10321">{{cite web | url=https://www.n2yo.com/satellite/?s=10321 | title=Voyager 1 | publisher=N2YO | accessdate=August 21, 2013}}</ref>|mission_duration={{plainlist|
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
*{{Age in years, months and days| year=1977| month=09| day=05}}
{{Infobox Spacecraft
*<small>สำรวจดาวเคราะห์: 3 ปี 3 เดือน 9 วัน
| Name = วอยเอจเจอร์ 1
*สำรวจชั้นระหว่างดวงดาว: {{Age in years, months and days|year=1980|month=12|day=14}} (ยังดำเนินการอยู่)</small>}}|spacecraft_type=|manufacturer=Jet Propulsion Laboratory|dry_mass=|launch_mass={{convert|825.5|kg|abbr=on}}|power=470 วัตต์ (ณ วันที่ปล่อยยาน)|launch_date=5 กันยายน ค.ศ. 1977, 12:56:00 UTC|launch_rocket=[[Titan IIIE]]|launch_site=[[ฐานทัพอากาศแหลมคะแนเวอรัล]]|launch_contractor=|last_contact=<!-- {{end-date|[date]}} -->|decay_date=|interplanetary={{Infobox spaceflight/IP
| Image =
| type = flyby
| Caption = ยานสำรวจอวกาศ "วอยเอจเจอร์"
| Flyby_Of object = [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]]
| Organization = [[NASA]] / [[JPL]]
| distance = {{convert|349000|km|mi|abbr=on}}
| Major_Contractors =
| arrival_date = 5 มีนาคม ค.ศ. 1979
| Mission_Type = การสำรวจดาวเคราะห์ เฮลิโอสเฟียร์ และอวกาศระหว่างดาว
| Flyby_Of = [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]]
| Launch = 5 กันยายน 1977 12:56:00 UTC
| Launch_Vehicle = [[Titan IIIE]] / [[Centaur rocket|Centaur]]
| Launch_Site = แหลมคานาเวอรัล ฐานส่งยาน Complex 41 <br>[[สถานีกองทัพอากาศแหลมคานาเวอรัล]]
| Decay =
| Mission_Duration = {{For year month day| year=1977| month=09| day=05}}<br><small>ภารกิจดาวเคราะห์: 3 ปี 3 เดือน 9 วัน<br />ภารกิจระหว่างดาว: {{for year month day|year=1980|month=12|day=14}} (กำลังดำเนินอยู่)</small>
| NSSDC_ID = 1977-084A
| Webpage = http://voyager.jpl.nasa.gov/
| Mass = 721.9 กก.
| Power = 420 วัตต์
| Orbital_elements =
| Semimajor_Axis =
| Eccentricity =
| Inclination =
| Orbital_Period =
| Apoapsis =
| Periapsis =
| Orbits =
| Refs = <br><ref name="PDS">{{cite web |url=http://starbrite.jpl.nasa.gov/pds/viewMissionProfile.jsp?MISSION_NAME=VOYAGER |title=VOYAGER:Mission Information |year=1989 |publisher=NASA |accessdate=January 2, 2011}}</ref>
}}
{{Infobox Spacecraftspaceflight/IP
[[ไฟล์:Voyager spacecraft.jpg|200px|thumb|right|วอยเอจเจอร์ 1]]
| type = flyby
| object = [[ดาวเสาร์]]
| distance = {{convert|124000|km|mi|abbr=on}}
| arrival_date = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980
}}
{{Infobox spaceflight/IP
| type = flyby
| object = [[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]]
|note = สำรวจชั้นบรรยากาศ
| distance = {{convert|6490|km|mi|abbr=on}}
| arrival_date = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980
}}|programme=[[ยานสำรวจที่สำคัญ]]|previous_mission=''[[วอยเอจเจอร์ 2|วอยเอเจอร์ 2]]''|next_mission=''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''}}[[ไฟล์:Voyager spacecraft.jpg|200px|thumb|right|วอยเอจเจอร์ 1]]
 
'''''วอยเอเจอร์ 1''''' ({{lang-en|''Voyager 1''}}) เป็นยานสำรวจอวกาศที่องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐ หรือ [[นาซา]] ปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 (16 วันหลังยานแฝด ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'') ภายใต้[[โครงการวอยเอจเจอร์]] เพื่อศึกษา[[ระบบสุริยะ]]ชั้นนอก ปัจจุบัน ยานสื่อสารกับ[[เครือข่ายอวกาศห้วงลึก]] (Deep Space Network) เพื่อรับคำสั่งประจำและส่งข้อมูลกลับ และด้วยระยะทางของยานสำรวจที่อยู่ห่างจาก[[ดวงอาทิตย์]]ราว 139 AU ([[หน่วยดาราศาสตร์]]) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2017<ref name="voyager1">{{Cite web|url=http://voyager.jpl.nasa.gov/where/|title=Where are the Voyagers – NASA Voyager|last=JPL.NASA.GOV|website=voyager.jpl.nasa.gov|access-date=2016-11-19}}</ref><ref>[http://voyager.jpl.nasa.gov/where/index.html Voyager 1], Where are the Voyagers – NASA Voyager 1</ref> จึงเป็นวัตถุที่อยู่ไกลที่สุดในระบบสุริยะที่รู้ตำแหน่งที่ตั้ง ซึ่งไกลกว่า[[ดาวอีริส]] (96 AU) และ [[V774104]] (ราว 103 AU) และเป็นวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นที่อยู่ไกลจาก[[โลก]]มากที่สุด
 
ภารกิจหลักของยานสำรวจวอยเอจเจอร์ 1 คือการสำรวจ[[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดาวไททัน]]ซึ่งเป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ ในขณะที่เส้นทางของยานอวกาศสามารถเปลี่ยนแปลงเพื่อสำรวจ[[ดาวพลูโต]]โดยยกเลิกการสำรวจดาวไททัน แต่การผ่านดาวบริวารดวงนี้ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่ามี[[ชั้นบรรยากาศ]]ได้รับความสำคัญมากกว่า<ref>{{cite web | url=http://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/ | title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter | accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html | title=What If Voyager Had Explored Pluto? | accessdate=September 2, 2015}}</ref> ภารกิจหลักสิ้นสุดเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 โดยเป็นยานสำรวจลำแรกที่ให้ภาพละเอียดของดาวเคราะห์ทั้งสอง ตลอดจนดาวบริวารต่างๆ