ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
พระนามสะกดด้วย ต
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}} <!-- บางย่อหน้าไม่มีการอ้างอิงแหล่งที่มา -->
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ชื่อname = {{nowrap|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br > เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีพาหุรัตมณีมัย}}<br/ >กรมพระเทพนารีรัตน์
| ภาพimage = ไฟล์:Bahurada Manimaya.jpg
| พระอิสริยยศtitle = สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5 เจ้าฟ้าชั้นเอก
| พระนาม = เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี
| วันประสูติbirth_date = 19 ธันวาคม พ.ศ. 2421
| พระนามเต็ม =
| death_style = สิ้นพระชนม์
| ฐานันดร = เจ้าฟ้าชั้นเอก
| วันสิ้นพระชนม์death_date = {{วันตายและอายุ|2430|8|27|2421|12|19}}
| วันประสูติ = 19 ธันวาคม พ.ศ. 2421
| พระบิดาfather1 = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| วันสิ้นพระชนม์ = {{วันตายและอายุ|2430|8|27|2421|12|19}}
| พระมารดาmother1 = [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์จักรี]]
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| พระมารดา = [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
 
'''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีพาหุรัตมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์'''<ref>กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ''[http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf ราชสกุลวงศ์]''. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. 2554, หน้า 86</ref> (19 ธันวาคม พ.ศ. 2421 — 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430) พระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
 
== พระประวัติ ==
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีพาหุรัตมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์ ประสูติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2421<ref>กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ''[http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf ราชสกุลวงศ์]''. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. 2554, หน้า 86</ref> เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] แรกเริ่มพระองค์ยังไม่ได้รับพระราชทานพระนาม ชาววังจึงออกพระนามว่า "'''ทูลกระหม่อมหญิงใหญ่'''"<ref>[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]], [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=4331&stissueid=2669&stcolcatid=2&stauthorid=13 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ปฐมจุลจอมเกล้า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖], สกุลไทย, ฉบับที่ 2669, ปีที่ 52, ประจำวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2548</ref>
 
เมื่อพระองค์ตามเสด็จพระบิดาประพาสเมืองเพชรบุรีได้ 3-4 วัน ก็ประชวรไข้ จนเสด็จกลับพระนครก็ไม่หาย มีพระอาการเสวยไม่ได้ พระกายซูบผอมและร้อนบ้าง มีพระบังคนปนเสมหะ และมีพระยอดขึ้นที่พระศอบ้างพระกรรณบ้าง จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430 เวลา 12:42 น. ขณะพระชันษา 8 ปี 8 เดือน 11 วัน ถึงเวลา 5 โมงเย็นเศษ เชิญพระศพไปยังพระที่นั่งจักรีมหาประสาทองค์ตะวันออก [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร]] พระราชทานน้ำหลวงสรงพระศพ ต่อมาย้ายไปประดิษฐาน ณ [[หอธรรมสังเวช]] เคียงข้างพระโกศพระศพ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์|สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์]] แล้วโปรดให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ทอดผ้าบังสุกุล พระสงฆ์ 160 รูปมี[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส]] เป็นประธานสวดสดับปกรณ์<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=4|issue=22|pages=171|title=ข่าวสิ้นพระชนม์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตมณีมัย|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/022/171_1.PDF|date=8 กันยายน จ.ศ. 1249|accessdate=5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562|language=ไทย}}</ref>
พระองค์เป็นที่สนิทสิเน่หาของพระชนนี ด้วยประชวรกระเสาะกระแสะเรื่อยมาตลอดพระชนม์ชีพ จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430 ในวัยเพียง 8 พระชันษา ซึ่งเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เฉลิมพระนามหลังสิ้นพระชนม์ว่า '''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี''' ในปี พ.ศ. 2431<ref>เจฟฟรี่ ไฟน์สโตน. ''จุฬาลงกรณราชสนตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย''. กรุงเทพฯ : พิษณุโลกการพิมพ์, 2532, หน้า 145</ref> ส่วนสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงจึงทรงนำทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระราชธิดามาสร้างเป็น[[ถนน]] โดยพระราชทานนามว่า "[[พาหุรัด]]" เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่พระราชธิดาอันเป็นที่รัก
 
พระองค์เป็นที่สนิทสิเน่หาของพระชนนี ด้วยประชวรกระเสาะกระแสะเรื่อยมาตลอดพระชนม์ชีพ จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430 ในวัยเพียง 8 พระชันษา ซึ่งเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เฉลิมพระนามหลังสิ้นพระชนม์ว่า '''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีพาหุรัตมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี''' ในปี พ.ศ. 2431<ref>เจฟฟรี่ ไฟน์สโตน. ''จุฬาลงกรณราชสนตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย''. กรุงเทพฯ : พิษณุโลกการพิมพ์, 2532, หน้า 145</ref> ส่วนสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงจึงทรงนำทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระราชธิดามาสร้างเป็น[[ถนน]] โดยพระราชทานนามว่า "[[พาหุรัด]]" เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่พระราชธิดาอันเป็นที่รัก
ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโองการสถาปนาพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เป็นเจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายในที่ "กรมพระ" มีพระนามว่า '''สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/371.PDF ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน์], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ก, ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๓๗๑ </ref>
 
เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัยนั้น เมื่อยังเสด็จดำรงพระชนม์อยู่ ทรงมีมารยาทเรียบร้อยเป็นอันดีสมควรกับขัตติยราชกุมารี เป็นที่เสน่หาปราโมทย์แห่งพระประยูรญาติทั้งปวงยิ่งนัก
ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโองการสถาปนาพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เป็นเจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายในที่ "กรมพระ" มีพระนามว่า '''สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีพาหุรัตมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/371.PDF ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน์], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ก, ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๓๗๑ </ref>
เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีพาหุรัตมณีมัยนั้น เมื่อยังเสด็จดำรงพระชนม์อยู่ ทรงมีมารยาทเรียบร้อยเป็นอันดีสมควรกับขัตติยราชกุมารี เป็นที่เสน่หาปราโมทย์แห่งพระประยูรญาติทั้งปวงยิ่งนัก
 
== พงศาวลี ==
เส้น 48 ⟶ 44:
| 8 = 8. (=12.) [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
| 9 = 9. (=13.) [[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี]]
| 10 = 10. [[สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์]]
| 11 = 11. [[หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา]]
| 12 = 12. (=8.) [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
เส้น 54 ⟶ 50:
| 14 = 14. [[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]]
| 15 = 15. [[ท้าวสุจริตธำรง (นาค)]]
| 16 = 16. (=24.) [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
| 17 = 17. (=25.) [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]]
| 18 = 18. (=26.) เงิน แซ่ตัน
| 19 = 19. (=27.) [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์พี่นางเธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]]
| 20 = 20. [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| 21 = 21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์
| 22 = 22. บุศย์ (ชาวบางเขน)
| 23 = 23. แจ่ม
| 24 = 24. (=16.) [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
| 25 = 25. (=17.) [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]]
| 26 = 26. (=18.) [[เงิน แซ่ตัน]]
| 27 = 27. (=19.) [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์พี่นางเธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]]
}}
</center>
เส้น 77 ⟶ 73:
{{พระราชธิดาราชวงศ์จักรี}}
 
{{เรียงลำดับ|พาหุรัดมณีพาหุรัตมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์}}
{{อายุขัย|2421|2430}}
{{ประสูติปี|2421}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2430}}
[[หมวดหมู่:พระราชธิดาในรัชกาลที่ 5]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5]]
[[หมวดหมู่:เจ้าฟ้าหญิง]]
[[หมวดหมู่:กรมพระ|ทเทพนารีพนารีรัตน์]]
{{โครงชีวประวัติ}}