ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์เต่าทะเล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 17:
 
}}
'''วงศ์เต่าทะเล''' ({{lang-en|Marine turtle, Sea turtle, Modern sea turtle}}; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: Cheloniidae) เป็น[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]ของ[[เต่า]]ในวงศ์ใหญ่ [[เต่าทะเล|Chelonioidea]] หรือ เต่าทะเล ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cheloniidae
 
มีกระดองที่แบนและยาว เมื่อมองจากด้านหน้าทางตรงจะเห็นเป็นรูปสามเหลี่ยม ขาคู่หน้าและหลังเปลี่ยนรูปเป็นใบพายเพื่อใช้สำหรับว่ายน้ำ โดยเฉพาะขาคู่หนาที่ยาวกว่าคู่หลัง เพราะใช้ในการเคลื่อนที่ ส่วนขาคู่หลังใช้ควบคุมทิศทางเหมือนหางเสือ การหุบขากรรไกรล่างเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ผ่านไปบนกระดูกโพรโอติก และขากรรไกรติดกับพื้นผิวของก้านกระดูกโพรโอติกที่อยู่ในซัยโนเวียลแคปซูล กระดูกท้องไม่มีกระดูกมีโสพลาสทรอน กระดูกพลาสทรอนที่เชื่อมต่อกับขอบนอกของกระดองหลังอาจมั่นคงหรือไม่มั่นคง ขอบนอกของกระดองหลังมีร่องที่แบ่งเป็นกระดูกชิ้นเล็กจำนวน 11 คู่ กระดูกเชิงกรานเชื่อมติดกับกระดองท้องในลักษณะยืดหยุ่นได้
บรรทัด 23:
เต่าทะเลจะใช้ชีวิตตลอดทั้งชีวิตอยู่ในทะเล จะขึ้นมาบนบกก็เพียงเพื่อวางไข่เท่านั้น และไม่มีพฤติกรรมผึ่งแดดเหมือนเต่าน้ำจืด อีกทั้งไม่สามารถหดหัวหรือขาเข้าไปในกระดองได้เหมือน[[เต่าบก]]หรือเต่าน้ำจืด
 
เต่าทะเลจะวางไข่ได้เมื่ออายุถึง 25 ปี หรือมากกว่านั้น ทุกชนิดจะวางไข่บนหาดทรายที่เงียบสงบ ปราศจากแสงสี ส่งรบกวน ในเวลากลางคืน ยกเว้นในสกุล ''[[Lepidochelys]]'' ที่มีพฤติกรรมวางไข่ในเวลากลางวัน เมื่อขึ้นมาบนบกจะไม่สามารถยกตัวเองให้สูงพ้นพื้นได้ ตัวเมียจะวางไข่ได้หลายครั้ง อาจถึง 2-2–5 ครั้ง ภายในปีเดียว แต่ปริมาณไข่จะมากที่สุดอยู่ในช่วงฤดูสืบพันธุ์
 
เต่าทะเลสามารถพบได้ในทะเลและมหาสมุทรทั่วโลก ยกเว้นในแถบ[[อาร์กติก]]เท่านั้น ปัจจุบันพบทั้งหมด 6 [[species|ชนิด]] 5 [[genus|สกุล]]<ref>วีรยุทธ์ เลาหะจินดา, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' หน้า 358-359 ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0 </ref>
บรรทัด 43:
 
*สกุล ''[[Natator]]''
**[[Natator depressus|เต่าตนุหลังแบน]] (''Natator depressus'')<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic{{ITIS|taxon=TSN&search_value Cheloniidae|id=173828 จาก ITIS.gov {{en}}]</ref>
 
'''ที่[[สูญพันธุ์]]ไปแล้ว'''