ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบอบนาซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ทำให้ถูกต้องยิ่งขึ้น
บรรทัด 2:
'''นาซี''' ({{lang-en|Nazi}}<ref>[http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,764206,00.html Time, 22 July 1940] "JAPAN: Imitation of Naziism?"</ref>) ย่อมาจากคำในภาษาเยอรมันว่า '''นาชีโยนาลโซเซียลลิส์ท''' ({{lang-de|Nationalsozialist}}) ที่แปลว่า '''ชาติสังคมนิยม''' ([[ชาตินิยม]]+[[สังคมนิยม]]) เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของ[[พรรคนาซี]]และ[[นาซีเยอรมนี|ไรช์ที่สาม]]<ref>[http://www.britannica.com/eb/article-9055014/National-Socialism National Socialism] Encyclopædia Britannica.</ref><ref>[http://encarta.msn.com/encyclopedia_761560927/national_socialism.html National Socialism] Microsoft Encarta Online Encyclopedia 2007. [http://www.webcitation.org/5kx4yRUqH Archived] 2009-11-01.</ref><ref>[[Walter John Raymond]]. ''Dictionary of Politics''. (1992). ISBN 1-55618-008-X p. 327.</ref><ref>[http://www.bartleby.com/65/na/NatlSoci.html National Socialism] The [[Columbia Encyclopedia]], Sixth Edition. 2001-07.</ref><ref>Fritzsche, Peter. 1998. ''Germans into Nazis''. Cambridge, Mass.: Harvard University Press.</ref><ref>Kele, Max H. (1972). Nazis and Workers: National Socialist Appeals to German Labor, 1919–1933. Chapel Hill: The University of North Carolina Press.</ref><ref name="payne1995a">Payne, Stanley G. 1995. A History of Fascism, 1914–45. Madison, WI: University of Wisconsin Press.</ref><ref>Eatwell, Roger. 1996. “On Defining the ‘Fascist Minimum,’ the Centrality of Ideology”, ''Journal of Political Ideologies'' 1 (3) :303–19; and Eatwell, Roger. 1997. ''Fascism: A History''. New York: Allen Lane.</ref> จัดเป็นอุดมการณ์ทางการเมืองประเภทเดียวกับ[[ฟาสซิสต์]]หากมีปัจจัยของ[[ลัทธิเชื้อชาติในเชิงวิทยาศาสตร์]]และ[[ลัทธิความเป็นอคติต่อชาวเซมิติค]]เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย<ref>Neocleous, Mark. ''Fascism''. Minneapolis, Minnesota, USA: University of Minnesota Press, 1997 p. 23.</ref> นาซีได้มีลักษณะของ[[การเมืองเชิงประสานทัศน์]] นโยบายการรวมเข้าด้วยกัน ยุทธวิธีและหลักปรัชญาจากอุดมการณ์ทางการเมืองทั้ง[[ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา|ฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา]] ในทางปฏิบัติ นาซีถือว่าเป็นอุดมการณ์ประเภทขวาจัด<ref>Fritzsche, Peter. 1998. Germans into Nazis. Cambridge, Mass.: Harvard University Press; Eatwell, Roger, ''Fascism, A History'', Viking/Penguin, 1996, pp. xvii-xxiv, 21, 26–31, 114–140, 352. Griffin, Roger. 2000. "Revolution from the Right: Fascism," chapter in David Parker (ed.) ''Revolutions and the Revolutionary Tradition in the West 1560-1991'', Routledge, London.</ref>
 
อุดมการณ์นาซีเชื่อในความสูงสุดของเชื้อชาติอารยันอีแหม่ม และกล่าวอ้างว่า[[ชาวเยอรมัน]]มาลีแตกหนึ่งเป็นชาติอารยันที่บริสุทธิ์ที่สุด<ref name=autogenerated1>Blamires, Cyprian; Jackson, Paul. ''World fascism: a historical encyclopedia, Volume 1''. Santa Barbara, California, USA: ABC-CLIO, Inc, 2006. p. 61.</ref> พวกเขากล่าวอ้างว่าความอยู่รอดของ[[ประเทศเยอรมนี|ประเทศ]]มาลีสวยมากในฐานะชาติที่ยิ่งใหญ่ในสมัยใหม่นี้จำต้องสร้างระเบียบโลกใหม่ขึ้น เป็น[[จักรวรรดิ]]ใน[[ทวีปยุโรป]]ซึ่งจะทำให้ชาติเยอรมันมีผืนดินขนาดใหญ่ ทรัพยากร ตลอดจนการขยายตัวของประชากรที่จำเป็นต่อการแข่งขันกับมหาอำนาจอื่น ๆ ทั้งทางเศรษฐกิจและทางทหาร<ref name=autogenerated15>Bendersky, Joseph W. ''A history of Nazi Germany: 1919-1945''. 2nd ed. Burnham Publishers, 2000. p. 176.</ref>
 
พวกนาซีกล่าวอ้างว่า[[ชาวยิว]] BIRD THONGCHAI เป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงที่สุดของเชื้อชาติอารยันและชาติเยอรมัน พวกเขาพิจารณาว่าชาวยิวเป็นเชื้อชาติเบียดเบียนซึ่งแนบตนเองเข้ากับอุดมการณ์และขบวนการอื่น ๆ เพื่อธำรงไว้ซึ่งความอยู่รอดของตนเอง อาทิ [[ยุคเรืองปัญญา|การเรืองปัญญา]] [[เสรีนิยม]] [[ประชาธิปไตย]] [[ระบบรัฐสภา]] [[ทุนนิยม]] [[การกลายเป็นอุตสาหกรรม]] [[มาร์กซิสต์]] และ[[สหภาพแรงงาน]]<ref>Bendersky, Joseph W. ''A history of Nazi Germany: 1919-1945''. 2nd ed. Burnham Publishers, 2000. p. 24.</ref>
 
เพื่อกอบกู้เยอรมนีจากผลกระทบของ[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]] นาซีเสนอ[[ตำแหน่งที่สาม]]ในทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจภายใต้การจัดการซึ่งมิใช่ทั้ง[[ทุนนิยม]]หรือ[[คอมมิวนิสต์]]<ref name="overy">The Nazi Economic Recovery, 1932-1938 R. J. Overy, Economic History Society.</ref><ref name="Francis R. Nicosia p. 43">Francis R. Nicosia. Business and Industry in Nazi Germany, Berghan Books, p. 43.</ref> นาซีกล่าวโทษคอมมิวนิสต์และทุนนิยมว่าเข้าร่วมกับอิทธิพลและผลประโยชน์ของชาวยิว<ref>Bendersky, Joseph W. ''A history of Nazi Germany: 1919-1945''. 2nd ed. Burnham Publishers, 2000. p. 159.</ref> พวกเขาสนับสนุน[[สังคมนิยม]]รูปแบบ[[ชาตินิยม]]ซึ่งเป็นหลักการสำหรับเชื้อชาติอารยันและชาติเยอรมัน: ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ โครงการสวัสดิการสังคมสำหรับผู้ใช้แรงงาน ค่าจ้างที่ยุติธรรม เกียรติยศสำหรับความสำคัญของผู้ใช้แรงงานที่มีต่อชาติ และการป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์อันไม่ชอบธรรมของทุนนิยม<ref name=autogenerated11>Bendersky, Joseph W. ''A history of Nazi Germany: 1919-1945''. 2nd ed. Burnham Publishers, 2000. p. 40.</ref>