ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฟร็องซัว (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 45:
เจ้าหญิงทรงได้รับการเฉลิมพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารีและรัชทายาทลำดับแรกแห่งราชบัลลังก์เมื่อวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2523]] จากการเปลี่ยนแปลงพระราชบัญญัติการสืบราชสมบัติแห่งปี พ.ศ. 2353 (Successionsordningen) ในปลายปี [[พ.ศ. 2522]] การปฏิรูปรัฐธรรมนูญในครั้งนั้นหมายถึงเชื้อสายคนโตของพระมหากษัตริย์สามารถสืบราชสมบัติได้ไม่ว่าจะเป็นเพศใด [[สวีเดน]]เป็นประเทศแรกที่นำเอากฎหมายการสืบสันตติวงศ์โดยไม่คำนึงถึงเพศมาใช้ นอกจากจะทำให้เจ้าหญิงวิกตอเรียทรงเป็นรัชทายาทหญิงในราชบัลลังก์สวีเดนแล้ว ยังทำให้ได้ทรงเป็นสตรีพระองค์แรกในลำดับการสืบราชสมบัติ การเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญนี้ไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากพระมหากษัตริย์ ซึ่งโปรดจะให้พระโอรสเป็นรัชทายาทลำดับที่ 1 และยังคงทรงมีความเห็นแบบนี้อยู่ เมื่อเจ้าหญิงทรงเป็นรัชทายาท ก็ยังมีพระอิสริยยศเป็นดัชเชสแห่งวาสเตอร์เกิตลานด์ ซึ่งเป็นชื่อมณฑลที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศสวีเดนอีกด้วย
 
ก่อนการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ รัชทายาทในราชบัลลังก์ ณ ขณะนั้นคือ [[เจ้าชายคาร์ล ฟิลิป ดยุกแห่งแวร์มลันด์]] พระอนุชาในเจ้าหญิง ซึ่งปัจจุบันทรงอยู่ในลำดับที่สามสี่ของการสืบราชสมบัติ ต่อจากพระเชษฐภคินีและพระภาคิไนย [[เจ้าหญิงเอสแตล ดัชเชสแห่งเอิสเตอร์เยิตลันด์]]และ[[เจ้าชายออสการ์ ดยุกแห่งสกอเน]] นอกจากนี้ยังมีพระกนิษฐาอีกพระองค์หนึ่งคือ [[เจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์]] [[ไฟล์:Crown Princess Victoria with family 2016.jpg|250px|thumb|left|พระองค์พร้อมด้วยพระสวามี [[เจ้าชายดาเนียล ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์]]พระราชโอรส-ธิดา [[เจ้าหญิงเอสแตล ดัชเชสแห่งเอิสเตร์เยิตลันด์]] [[เจ้าชายออสการ์ ดยุกแห่งสกอเน]]]]
 
== พระราชกรณียกิจ ==