ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทกภาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:World water distribution.png|right|500px|World water distribution.]]
'''อุทกภาค''' หรือ '''ไฮโดรสเฟียร์''' ([[อังกฤษ]]:Hydrosphere)(จากกรีก Hydor Hydro แปลว่า นำ้ และ Sprilia Sphere แปลว่า ภาค,ส่วน) (จาก[[ภาษาบาลี|ภาษา]]0uo "อุทก" แปลว่า น้ำ, "ภาค" แปลว่า ส่วน รวมกันหมายถึงส่วนที่เป็นน้ำ<ref>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2554</ref>) ในวิชา[[ภูมิศาสตร์กายภาพ]]หมายถึง แหล่งที่[[น้ำ]]จำนวนมากมาอยู่รวมกันบนหรือใต้ผิว[[โลก]]
 
อีกอร์ ชีโคลมานอฟ ผู้ถูกคัดเลือกโดย[[องค์การสหประชาชาติ]]ให้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ ได้ประเมินว่าบนโลกมีน้ำทั้งสิ้น 1,3864564555358545545554545454545754552663

ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร<ref name="Shiklomanov1998">{{cite report|url=http://webworld.unesco.org/water/ihp/publications/waterway/webpc/world_water_resources.html|publisher=UNESCO|date=1998|accessdate=13 June 2013|title= World Water Resources: A New Appraisal and Assessment for the 21st Century}}</ref> ซึ่งรวมถึงน้ำในรูป[[ของเหลว]] [[ของแข็ง]] [[น้ำบาดาล]] [[ธารน้ำแข็ง]] [[มหาสมุทร]] [[ทะเลสาบ]] และ[[แม่น้ำ]] โดยร้อยละ 97.5 ของน้ำทั้งหมดบนโลกเป็น[[น้ำเค็ม]] [[น้ำจืด]]มีอยู่เพียงร้อยละ 2.5 เท่านั้น และร้อยละ 68.7 ของน้ำจืดก็อยู่ในรูปของน้ำแข็งและหิมะปกคลุมบริเวณ[[อาร์กติก]] [[แอนตาร์กติกา]] และในเขตภูเขา ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 29.9 อยู่ในรูปของ[[น้ำบาดาล]] ร้อยละ 0.26 ของน้ำจืดเท่านั้นที่สามารถใช้เป็นสาธารณูปโภคได้ ซึ่งสามารถพบน้ำเหล่านี้ใต้ในทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ และระบบแม่น้ำต่าง ๆ<ref name="Shiklomanov1998" /> มวลทั้งหมดของน้ำบนโลกอยู่ที่ประมาณ 1.4 × 10<sup>18</sup> [[ตัน]] ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.023 ของมวลโลกทั้งหมด ประมาณ 20 × 10<sup>12</sup> [[ตัน]]ของน้ำทั้งหมดนั้นอยู่ใน[[บรรยากาศของโลก]] (โดยน้ำ 1 ลูกบาศก์เมตรมีน้ำหนักเท่ากับ 1 ตัน) ประมาณร้อยละ 75 ของผิวโลกทั้งหมดหรือประมาณ 361 ล้านตารางกิโลเมตรนั้นเป็น[[มหาสมุทร]] ค่าความเค็มเฉลี่ยของมหาสมุทรในโลกนั้นอยู่ที่ประมาณ 35&nbsp;ของ[[เกลือ]]หนึ่งกรัมต่อน้ำทะเลหนึ่งกิโลกรัม (ร้อยละ 3.5)<ref>{{cite book|first=Michael J.|last=Kennish|year=2001|title=Practical handbook of marine science|page=35|edition=3rd|publisher=CRC Press|series=Marine science series|isbn=0-8493-2391-6}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==