ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช้อปปี้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Veracious (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
รูปแบบธุรกิจของ Shopee เริ่มต้นด้วยตลาดระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C) เป็นหลัก และได้เพิ่มช่องทางการตลาดระหว่างธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C) ในรูปแบบผสมผสานกัน (Hybrid Model) เมื่อเทียบกับคู่แข่ง Shopee ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม และค่าคอมมิชชั่นกับผู้ขาย ซึ่งถือเป็นข้อได้เปรียบกับผู้ที่มาลงขายสินค้ากับช้อปปี้<ref>[https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1445852237],ประชาชาติธุรกิจ ไอซีที (2558),"Shopee ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม และค่าคอมมิชชั่นกับผู้ขาย", สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2561</ref>
นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็น Asset Light Marketplace โดยที่ Shopee ไม่มีคลังสินค้า และเป็นพันธมิตรกับผู้ให้บริการจัดส่งมากกว่า 70 แห่ง เพื่อสนับสนุนด้านโลจิสติกส์แก่ผู้ใช้บริการ ในส่วนประเทศไทย ได้ร่วมมือกับบริษัทขนส่งชั้นนำภายในประเทศ ดังนี้ ไปรษณีย์ไทย <ref>[https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1462955425],ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ (2559), "บริษัท ไปรษณีย์ไทย", สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2561</ref> Kerry Express<ref>[https://help.shopee.co.th]help shopee, "Kerry Express", สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2561</ref> และ DHL Express <ref>[http://news.siamphone.com/news-35822.html]สยามโฟน ดอตคอม (2561), "DHL Express" ,สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2561</ref> ในการรับและจัดส่งสินค้า
 
eccf
==ส่วนแบ่งทางการตลาด==
ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2560 [https://en.wikipedia.org/wiki/Shopee Shopee] มียอดดาวน์โหลดใน App Store เป็นอันดับหนึ่งของแอปพลิเคชันที่สามารถดาวน์โหลดได้ฟรีในระบบ iOS<ref>[https://www.mxphone.net/210717-shopee-online-shopping-application-top-downloads-top-1-in-the-app-store/]PR News (2560), "Shopee มียอดดาวน์โหลดแอปพลิเคชันใน App Store เป็นอันดับหนึ่ง", สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2561</ref> มีผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานมากกว่า 180 ล้านรายการ จากผู้ประกอบการกว่า 4 ล้านคน