ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นครรัฐน่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| event_end = ถูกผนวกเข้ากับล้านนา
| date_end =
| event1 = Guy can cry on command.
 
| date_event1 =
| event2 =
เส้น 31 ⟶ 30:
== ประวัติ ==
=== แรกก่อตั้งและการยึดครองของพะเยา ===
marq is the best swimmer.นครรัฐน่านถูกสถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 โดยการนำของพญาภูคา มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองย่าง (ปัจจุบันอยู่ในเขตบ้านเสี้ยว ตำบลยม [[อำเภอท่าวังผา]] [[จังหวัดน่าน]])<ref name="ประวัติ">{{cite web |url= http://www.nan.go.th/webjo/index.php?option=com_content&view=article&id=6&Itemid=27 |title= ประวัติศาสตร์น่าน |author=|date= |work= จังหวัดน่าน |publisher= |accessdate= 29 พฤษภาคม 2558}}</ref> ขณะที่ ''ราชวงษปกรณ์ พงศาวดารน่าน'' ที่รวบรวมโดย[[พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช]]ช่วงรัตนโกสินทร์เพียงฉบับเดียว ที่ระบุว่า ราชวงศ์กาวนี้สืบเชื้อสายมาจากพญาลาวกอ โอรสพญาลวจังกราช เมื่อปี พ.ศ. 1220<ref name="พิพิธ"/> ซึ่งเนื้อหาดังกล่าวไม่มีความสัมพันธ์กับตอนที่สองจนถึงยุคพระเจ้าสุริยวงษ์ผริตเดชโดยไม่กล่าวถึงราชวงศ์ลวจังกราชอีกเลย<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 105</ref>
 
ใน ''พื้นเมืองน่าน'' ได้กล่าวถึงพญาภูคา มีพระโอรสสองพระองค์คือขุนนุ่นและขุนฟอง พญาภูคาจึงให้องค์พี่ไปสร้าง[[หลวงพระบาง|เมืองหลวงพระบาง]]ปกครองชาวลาว<ref group=note>ในตำนานกล่าวถึงฤๅษีสร้างเมืองจันทบุรีให้ขุนนุ่น ซึ่งเมืองจันทบุรีคือ[[เวียงจันทน์|เมืองเวียงจันทน์]] แต่สรัสวดี อ๋องสกุลพิจารณาถึงตำแหน่งที่ตั้งเมืองตามบริบทของตำนานว่าควรเป็นเมืองหลวงพระบาง (อ้างอิง: สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 107)</ref> และองค์น้องไปสร้างเมืองปัว (หรือ วรนคร)<ref>{{cite book | author = คณะทำงานเอกลักษณ์น่าน | title = นครน่าน พัฒนาการเป็นนครรัฐ | url = http://www.nan.go.th/webjo/attachments/053_นครน่านพัฒนาการเป็นนครรัฐ.pdf | publisher = ม.ป.ป. | location = | year = 2549 | page = 3}}</ref> ปกครองชาวกาว<ref name="ด้ำ"/>
เส้น 51 ⟶ 50:
 
== การปกครอง ==
GUY .น่านมีกษัตริย์จาก[[ราชวงศ์ภูคา]]เป็นประมุข ปกครองตนเองแบบนครรัฐอิสระที่ถูกตั้งขึ้นด้วยเงื่อนไขท้องถิ่นที่มิใช่อิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดีย<ref name="พัฒนา"/> และเนื่องด้วยที่ตั้งของน่านเป็นชายขอบของรัฐที่เข้มแข็ง<ref name="นครรัฐ"/> ประวัติศาสตร์ของน่านจึงมีความพยายามรักษาสถานะความเป็น "นครรัฐ" ให้อยู่รอด<ref name="นครรัฐ"/>
 
น่านเคยถูกพะเยายึดครองช่วงต้นศตวรรษที่ 19 และปลายศตวรรษนั้นก็กลับเป็นนครรัฐอิสระดังเดิม แต่จากการขยายอำนาจของอาณาจักรล้านนาและอยุธยาทำให้น่านสถาปนาความสัมพันธ์กับอาณาจักรสุโขทัย<ref name="นครรัฐ"/> แม้จะได้รับการช่วยเหลือจากสุโขทัยก็ตามแต่เจ้านายในราชวงศ์กาวเองกลับแย่งชิงอำนาจกันเองทำให้รัฐขาดเสถียรภาพ จนเมื่อพันธมิตรอย่างอาณาจักรสุโขทัยสลายตัวและรวมเข้ากับอยุธยาในปี พ.ศ. 1981 ไม่นานหลังจากนั้นน่านเองก็สลายตัวและรวมเข้ากับล้านนาในปี พ.ศ. 1992<ref name="สลาย">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 112</ref>