ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:บทความแรกของคุณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ ชาครธมฺโม ภิกฺขุ (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| '''เตรียมตัวก่อน'''
* [[วิกิพีเดีย:ทำไมจึงควรสร้างบัญชีผู้ใช้?|ลงทะเบียนบัญชี]] ง่าย ๆ เพียงเลือกชื่อผู้ใช้กับรหัสผ่านเท่านั้น
* ลองฝึกหัดโดยเริ่มจากการแก้ไขบทความที่มีอยู่แล้วเพื่อสร้างความคุ้นเคยและเรียนรู้การใช้ภาษามาร์กอัปอัพของวิกิพีเดีย เราขอแนะนำให้คุณชม[[วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน|สอนการใช้งานวิกิพีเดีย]]หรือทบทวน[[วิกิพีเดีย:การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย|การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย]]เพื่อเรียนรู้พื้นฐานการแก้ไข
 
|-
บรรทัด 40:
| valign="top" align="center" width="50px" style="font-size: 250%; font-family: palatino,georgia,serif; font-weight: 100;background:transparent" | 3
| '''เลือกเรื่อง'''
* ถ้าไม่มีเรื่องที่คล้ายกัน คราวนี้คุณต้องพิจารณาว่าเรื่องที่คุณต้องการเขียนนั้นเป็นสิ่งที่ "[[WP:NOTE|โดดเด่น]]" ในวิกิพีเดียหรือไม่เปล่า '''หัวข้อนี้มีที่อยู่ในสารานุกรมหรือไม่'''
** ลองดูว่ามีแหล่งข้อมูลที่ (1) กล่าวถึงเรื่องในรายละเอียดหรือไม่ และ (2) ไม่มีส่วนได้เสียกับเรื่องนั้นหรือไม่ หากคุณมีข้อสงสัย สอบถามได้ที่ [[วิกิพีเดีย:แผนกช่วยเหลือ]]
** กรุณาใส่ใจเรื่อง[[WP:COI|ผลประโยชน์ทับซ้อน]] หากคุณได้รับค่าจ้างหรือได้รับประโยชน์จากการเขียน คุณควรเขียนใน[[Special:MyPage/ทดลองเขียน|หน้าทดลองเขียน]]ของคุณ หากคุณละเมิดวิกิพีเดีย '''คุณอาจถูกบล็อก'''
บรรทัด 56:
ประเด็นต่าง ๆ เหล่านี้มีอธิบายเพิ่มด้านล่าง
 
== การค้นหาบทความที่มีอยู่แล้ว ==
เรามีบทความแล้ว {{NUMBEROFARTICLES}} บทความ ก่อนสร้างบทความ พยายามตรวจสอบดูให้แน่ใจก่อนว่าไม่มีผู้อื่นเขียนไว้แล้ว ซึ่งบางทีอาจใช้คนละชื่อ ให้คุณ[[วิธีใช้:การค้นหา|ค้นหา]]บทความ และตรวจสอบ[[วิกิพีเดีย:หลักการตั้งชื่อบทความ|หลักการตั้งชื่อบทความของวิกิพีเดีย]]ก่อนสร้างบทความ หากมีบทความหัวข้อของคุณอยู่แล้ว แต่คุณคิดว่าผู้อื่นน่าจะค้นหาบทความโดยใช้ชื่อหรือการสะกดแบบอื่น ศึกษาการเพิ่ม[[วิธีใช้:หน้าเปลี่ยนทาง|การเปลี่ยนทาง]]ไปชื่อเรื่องใหม่ นอกจากนี้พึงระลึกว่าต้องตรวจสอบ[[Special:Log/delete|ปูมการลบบทความ]]เพื่อเลี่ยงการสร้างบทความที่เคยถูกลบแล้ว
 
หลังค้นหาแล้วไม่พบบทความของคุณ ลองพิจารณาขยายขอบเขตการค้นหาของคุณให้ครอบคลุมรวมบทความเดิมที่อาจมีหัวเรื่องบทความของคุณรวมอยู่ด้วย ตัวอย่างเช่น หากคุณต้องการเขียนบทความเกี่ยวกับสมาชิกวงดนตรีคนหนึ่ง คุณอาจค้นหาวงดนตรีนั้นก่อน และเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับหัวเรื่องของคุณเป็นส่วนหนึ่งในบทความวงดนตรีนั้น
 
''เมื่อคุณพบบทความที่มีอยู่แล้ว กรุณาอย่าลบเนื้อหาที่ผู้อื่นเขียนไว้แล้วใส่เนื้อหาของคุณลงไปแทน ถือเป็นการเสียมารยาทอย่างมาก''
 
== การรวบรวมเอกสารอ้างอิง ==
{{Quote box
|width = 30%
บรรทัด 81:
|source =
}}
ในการรวบรวมแหล่งข้อมูลสนับสนุนสารสนเทศที่คุณจะเขียน หัวเรื่องใดควรมีอยู่ในสารานุกรม หัวเรื่องนั้นจะต้องมี[[WP:NOTE|ความโดดเด่น]]พอสมควร และความโดดเด่นนั้นจะต้อง[[WP:V|พิสูจน์ยืนยันได้]]ผ่าน[[WP:CITE|การอ้างอิง]]ไปยังแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
 
แหล่งข้อมูลเหล่านั้นนี้ต้องมีความน่าเชื่อถือ หมายความว่า ต้องเป็นแหล่งข้อมูลที่มีการควบคุมบรรณาธิการบางรูปแบบ มีชื่อเสียงด้านการตรวจสอบข้อเท็จจริงและความแม่นยำ
 
ด้วยเหตุข้างต้นบล็อก เว็บฟอรัม สื่อสังคมออนไลน์ส่วนบุคคล เว็บแฟนคลับ เว็บไซต์ที่อนุญาตให้เขียนโฆษณาตนเอง ฯลฯ จึงไม่น่าเชื่อถือ เพราะใคร ๆ ก็สามารถเข้าไปแก้ไขสารสนเทศได้โดยไม่มีคนตรวจสอบ
 
กล่าวง่าย ๆ ว่าถ้ามีแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือที่มีสารสนเทศอย่างกว้างขวางจัดพิมพ์เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งนานพอสมควรแล้ว เรื่องนั้นก็มีความโดดเด่น และคุณจะต้องอ้างอิงแหล่งข้อมูลเช่นว่าเมื่อสร้างบทความนั้นด้วย ดังนั้น '''คุณต้องหาแหล่งข้อมูลเหล่าพวกนี้ประกอบ'''
 
เมื่อคุณมีความชำนาญมากขึ้น คุณอาจศึกษารูปแบบการใส่อ้างอิงที่ถูกต้องได้ทาง [[วิกิพีเดีย:การอ้างอิงแหล่งที่มา]] แต่ในตอนนี้ยังไม่ต้องกังวลเรื่องผิดถูก ขอให้มีแหล่งอ้างอิงก่อน
 
== เรื่องที่ควรหลีกเลี่ยง ==
; บทความเกี่ยวกับตัวคุณ คนใกล้ชิด กลุ่มที่คุณตั้งขึ้นหรือเป็นสมาชิกอยู่ ผลงานของคุณหรือคนใกล้ชิด : บทความพวกนี้อาจสร้างขึ้นเพื่อให้ขำขันหรือไว้โอ้อวด แต่บทความทำนองนี้มักถูกลบ คุณอาจเสียความรู้สึกและคุณอาจถูกบล็อกมิให้แก้ไขเพราะคุณพยายามสร้างบทความใหม่เรื่อย ๆ
 
; การโฆษณา : กรุณาเลิกคิดลองส่งเสริมผลิตภัณฑ์หรือธุรกิจของคุณ ห้ามแทรกลิงก์ไปยังเว็บไซต์พาณิชย์ของคุณ
บรรทัด 102:
; หัวเรื่องไม่โดดเด่น : หลายคนเพิ่มหน้าบนวิกิพีเดียโดยไม่คิดเสียก่อนว่าเรื่องนั้นแท้จริงแล้วโดดเด่นเพียงพอบรรจุลงในสารานุกรมหรือไม่ เพราะวิกิพีเดีย{{em|ไม่ใช่ที่ที่เขียนได้ทุกเรื่อง}} หน้าที่มีปัญหาบ่อย ๆ เช่น บุคคล บริษัท กลุ่มบุคคลซึ่งมีความโดดเด่นหรือความสำคัญไม่เพียงพอ เรื่องที่มีได้จะต้องมีแหล่งอ้างอิงน่าเชื่อถือพิสูจน์
 
== สิ่งที่ต้องพึงระวังระมัดระวัง ==
; '''การคัดลอก อย่าละเมิดลิขสิทธิ์''' : อย่าคัดลอกและวางเนื้อหาเข้าสู่บทความวิกิพีเดีย ยกเว้นเป็นอัญพจน์สั้น ๆ ที่อยู่ในเครื่องหมายอัญประกาศ และมีการอ้างอิงโดยใช้การอ้างอิงในบรรทัด แม้แต่เนื้อความที่เป็น[[สาธารณสมบัติ]]ก็ต้องระบุแหล่งที่มา มิฉะนั้นจะเป็น[[โจรกรรมทางวรรณกรรม]] เนื้อหาส่วนใหญ่บนเว็บมีลิขสิทธิ์ {{em|แม้ไม่มีข้อความสงวนลิขสิทธิ์ หรือสัญลักษณ์ ©}} ดูเพิ่มที่ [[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์]] และ [[วิกิพีเดีย:เขียนงานอย่างไรไม่ละเมิดลิขสิทธิ์]]
; เนื้อความแก้ต่างและที่เป็นข้อพิพาท : กรุณาอย่าเขียนบทความที่แก้ต่างมุมมองหนึ่งในด้านการเมือง ศาสนาหรือเรื่องอื่นใด เข้าใจสิ่งที่เราถือว่าเป็นมุมมองที่เป็นกลางก่อนเขียนหัวข้อประเภทนี้
; บทความที่เป็นเรื่องในท้องถิ่น : ได้แก่ บทความเกี่ยวกับสถานที่ เช่น โรงเรียนหรือถนนที่มีคนรู้จักไม่มากจำนวนน้อย เช่น ศิษย์เก่าหรือบุคคลที่อยู่ในละแวกนั้น อาจไม่มีความเห็นพ้องชัดเจนในเรื่องนี้ แต่ผู้ใช้บางท่านคนอาจแสดงการคัดค้านหากไม่มีการระบุว่าสถานที่นั้นมีความพิเศษหรือแตกต่างจากที่อื่นที่เหมือนกันจำนวนนับไม่ถ้วนอย่างไร ในกรณีนี้คุณต้องหาแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือมายืนยันความโดดเด่นของบทความดังกล่าว
 
:อาจดู [[วิกิพีเดีย:ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย|ข้อผิดพลาดในวิกิพีเดียที่ถูกพบบ่อย]]
 
== หลังจากสร้างบทความ ==
ตอนนี้เมื่อคุณสร้างหน้าไปแล้ว ยังมีอีกหลายอย่างที่คุณสามารถทำได้
 
บรรทัด 117:
คุณควรหมั่นกลับมาแก้ไขเพิ่มเติมบทความที่คุณริเริ่มไว้ ไม่ควรปล่อยให้สั้นกุดหรือค้างเติ่ง แต่ทั้งนี้ไม่ต้องรีบร้อนอะไร คุณกลับมาทีหลังเมื่อไหร่ก็ได้ อาจเป็นอีกหลายชั่วโมง หลายวันหรือหลายเดือนก็ไม่ว่ากัน
 
=== การปรับปรุงรูปแบบ ===
เพื่อจัดรูปแบบบทความให้ถูกต้อง (และขยายบทความ ตลอดจนกระทั่งพัฒนาจนเป็นบทความคัดสรร!) ดูเพิ่มที่ [[วิกิพีเดีย:แนวทางในการเขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น]]
 
บรรทัด 130:
ที่ที่ดีที่สุดในการหาความช่วยเหลือ คือ [[วิกิพีเดีย:แผนกช่วยเหลือ]]
 
=== ทดลองอ่านสารานุกรมจริง ๆ ===
ลองอ่านบทความสารานุกรมจริง ๆ เพื่อทำความเข้าใจการออกแบบ รูปแบบ น้ำเสียงโทน และองค์ประกอบอื่นของเนื้อหาสารานุกรม มีการเสนอว่า ถ้าคุณวางแผนจะเขียนบทความแก่สารานุกรม คุณควรมีความรู้พื้นหลังอยู่บ้างในการเขียนอย่างเป็นทางการ เช่นเดียวกับหัวเรื่องใกล้มือ เป็นที่แนะนำว่า ควรเข้าศึกษาในชั้นเรียนการประพันธ์ในโรงเรียนระดับมัธยมหรือมหาวิทยาลัยก่อนที่คุณจะเริ่มเขียนบทความสารานุกรม
เป้าหมายของวิกิพีเดีย คือ การสร้างสารานุกรมที่ทันสมัยในทุกเรื่องที่จะคิดฝันได้ โดยสมมุติว่าตีพิมพ์เป็นสารานุกรมรูปเล่ม