ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกิซตาปู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 6:
[[พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย]]ถูกกล่าวหาว่าอยู่เบื้องหลังเหตุการณ์นี้ ผู้สนับสนุนและสมาชิกพรรคถูกกองกำลังฝ่ายความมั่นคงและกลุ่มอิสลามหัวรุนแรงทำร้ายร่างกาย นอกจากนั้น ความเชื่อถือในตัวซูการ์โนลดลง เพราะซูการ์โนไปปรากฏตัวที่ฐานทัพระหว่างเกิดรัฐประหาร การที่เขาไม่ประณามกลุ่มที่สังหารนายพลและยังออกมากล่าวว่าเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องภายในกองทัพ ทำให้คะแนนนิยมของเขาลดลงมาก สุดท้าย ซูการ์โนจึงต้องยอมให้ซูฮาร์โตขึ้นมาบริหารประเทศ และพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียกลายเป็นพรรคนอกกฎหมาย
 
== รายการอ้างอิง ==
* ไมเคิล ลีเฟอร์, ไมเคิล. (2548). '''พจนานุกรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้''' (น. 148-149). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 148 - 149.
*อรอนงค์ ทิพย์พิมล. (2552, กรกฎาคม-กันยายน). สงครามความทรงจำกับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (2): ความทรงจำกับการเขียนประวัติศาสตร์เหตุการณ์เกสตาปู. '''ฟ้าเดียวกัน''' 7(3): 166-182.