ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะตอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
I
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8021686 สร้างโดย 2001:44C8:42CD:34A7:215E:F1C1:4DE0:5963 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
{| class="wikitable" border="1" cellspacing="0" align="right" cellpadding="2" style="margin-left:1em" width=365300
|-
! bgcolor=gray | '''''อะตอม'''''
|-
| align="center" | [[ไฟล์:Helium atom QM.svg|365/1/2 300px|right|สถานะพื้นของอะตอมฮีเลียม]]
|-
| style="font-size: smaller; text-align: justify;" | ภาพวาดอะตอมของ[[ฮีเลียม]] แสดงให้เห็น[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]] (จุดสีชมพู) และการกระจายตัวของ[[เมฆอิเล็กตรอน]] (สีดำ) นิวเคลียสของฮีเลียม-4 (บนขวา) ในความเป็นจริงมีลักษณะเป็นทรงกลมที่สมมาตรและคล้ายคลึงกับเมฆอิเล็กตรอนมากะพ ุ แต่สำหรับนิวเคลียสอื่น ๆ ที่ซับซ้อนกว่านี้อาจไม่มีลักษณะเช่นนี้ก็ได้ แถบสีดำด้านซ้ายล่างแสดงความยาวหนึ่ง[[อังสตรอม]] ({{val|e=-10|u20 |=m10}} หรือ 100 [[พิโคเมตร|p 0.001 mpm]])
|-
! bgcolor=gray | ประเภท
บรรทัด 41:
}}</ref>
 
"อะตอม" มาจาก[[ภาษากรีก]]ว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไปถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่งๆหนึ่ง ๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก [[กลศาสตร์ควอนตัม]]เป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ<ref>
{{cite web
| last=Haubold |first=Hans |last2=Mathai |first2=A.M.
บรรทัด 59:
}}</ref> อิเล็กตรอนที่โคจรรอบอะตอมจะมี[[ระดับพลังงาน]]ที่เสถียรอยู่จำนวนหนึ่งในลักษณะของ[[วงโคจรอะตอม]] และสามารถเปลี่ยนแปลงระดับไปมาระหว่างกันได้โดยการดูดซับหรือปลดปล่อย[[โฟตอน]]ที่สอดคล้องกับระดับพลังงานที่ต่างกัน อิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัติทางแม่เหล็กของอะตอม
 
แนวคิดที่ว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยๆย่อย ๆ ไม่ต่อเนื่องกันและไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กไปได้อีก เกิดขึ้นมานับเป็นพันปีแล้ว แนวคิดเหล่านี้มีรากฐานอยู่บนการให้เหตุผลทางปรัชญา นักปรัชญาได้เรียกการศึกษาด้านนี้ว่า ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) จนถึงยุคหลังจากเซอร์ ไอแซค นิวตัน จึงได้มีการบัญญัติศัพท์คำว่า 'วิทยาศาสตร์' (Science) เกิดขึ้น (นิวตันเรียกตัวเองว่าเป็น นักปรัชญาธรรมชาติ (natural philosopher) ) ทดลองและการสังเกตการณ์ ธรรมชาติของอะตอม ของนักปรัชญาธรรมชาติ (นักวิทยาศาสตร์) ทำให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ มากมาย
 
การอ้างอิงถึงแนวคิดอะตอมยุคแรก ๆ สืบย้อนไปได้ถึง[[ประวัติศาสตร์อินเดีย|ยุคอินเดียโบราณ]]ในศตวรรษที่ 6 [[ก่อนคริสตกาล]]<ref>Gangopadhyaya (1981).</ref> โดยปรากฏครั้งแรกใน[[ศาสนาเชน]]<ref>Iannone (2001:62).</ref> สำนักศึกษา[[ลัทธินยายะ|นยายะ]]และ[[ไวเศษิกะ]]ได้พัฒนาทฤษฎีให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นว่าอะตอมประกอบกันกลายเป็นวัตถุที่ซับซ้อนกว่าได้อย่างไร<ref>Teresi (2003:213–214).</ref> ทางด้านตะวันตก การอ้างอิงถึงอะตอมเริ่มขึ้นหนึ่งศตวรรษหลังจากนั้นโดย[[ลิวคิพพุส]] (Leucippus) ซึ่งต่อมาศิษย์ของเขาคือ [[ดีโมครีตุส]] ได้นำแนวคิดของเขามาจัดระเบียบให้ดียิ่งขึ้น ราว 450 ปีก่อนคริสตกาล ดีโมครีตุสกำหนดคำว่า ''átomos'' ({{lang-el|ἄτομος}}) ขึ้น ซึ่งมีความหมายว่า "ตัดแยกไม่ได้" หรือ "ชิ้นส่วนของสสารที่เล็กที่สุดไม่อาจแบ่งแยกได้อีก" เมื่อแรกที่ [[จอห์น ดาลตัน]] ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอม นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นเข้าใจว่า 'อะตอม' ที่ค้นพบนั้นไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว ถึงแม้ต่อมาจะได้มีการค้นพบว่า 'อะตอม' ยังประกอบไปด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน แต่นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันก็ยังคงใช้คำเดิมที่ดีโมครีตุสบัญญัติเอาไว้<ref name=Ponomarev>{{cite book
บรรทัด 114:
}}</ref>
 
ปี ค.ศ. 1869 [[ดมีตรี เมนเดเลเยฟ]] อาศัยการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ยุคก่อนหน้าเช่นลาวัวซิเยร์ คิดค้นและเผยแพร่[[ตารางธาตุ]]ขึ้นเป็นครั้งแรก<ref>[http://www.iupac.org/didac/Didac%20Eng/Didac01/Content/S01.htm IUPAC article on periodic table]</ref> ตารางนี้ใช้เป็นตัวแทนถึงกฎการวนซ้ำ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงคุณสมบัติทางเคมีเฉพาะตัวของ[[ธาตุเคมี|ธาตุ]] ซึ่งจะ ''วนซ้ำเป็นรอบๆรอบ ๆ'' ตาม[[หมายเลขอะตอม]]
 
=== ส่วนประกอบย่อยและทฤษฎีควอนตัม ===
บรรทัด 172:
| volume=38 | issue=4 | pages=762–786
| doi=10.1021/ja02261a002
}}</ref> ดังที่[[สมบัติทางเคมี|คุณสมบัติทางเคมีของธาตุ]]เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วตามที่ปรากฏใน[[ตารางธาตุ]]<ref>Scerri (2007:205–226) </ref> ปี ค.ศ. 1919 นักเคมีชาวอเมริกัน [[เออร์วิง แลงมุยร์มิวร์]] เสนอวิธีการอธิบายว่า ถ้าอิเล็กตรอนในอะตอมเชื่อมต่อกันหรือจับกลุ่มกันในลักษณะบางอย่าง กลุ่มของอิเล็กตรอนน่าจะรวมกันเป็น[[ชั้นพลังงานของอิเล็กตรอน]]รอบ ๆ นิวเคลียส<ref>
{{cite journal
| last=Langmuir | first=Irving | year=1919
บรรทัด 227:
 
=== ฟิชชัน ฟิสิกส์พลังงานสูง และสสารหนาแน่น ===
ปี ค.ศ. 1938 นักเคมีชาวเยอรมัน [[ออตโตอ็อทโท ฮาห์นฮาน]] ผู้เป็นศิษย์ของรัทเทอร์ฟอร์ด ยิงนิวตรอนใส่อะตอมยูเรเนียมด้วยสมมุติฐานจะได้[[ธาตุหลังยูเรเนียม]]ออกมา แต่การทดลองทางเคมีของเขากลับให้ผลลัพธ์ออกมาเป็น[[แบเรียม]]<ref>{{cite web
| title=Otto Hahn, Lise Meitner and Fritz Strassmann
| publisher=Chemical Heritage Foundation
| work=Chemical Achievers: The Human Face of the Chemical Sciences
| url=http://www.chemheritage.org/classroom/chemach/atomic/hahn-meitner.html | accessdate=2009-09-15
}}</ref> หนึ่งปีต่อมา [[ไลซ์ลีเซอ ไมต์เนอร์ไมท์เนอร์]] กับ[[ออตโต ฟริสช์]]ผู้เป็นหลาน สามารถพิสูจน์ว่าผลลัพธ์ของฮาห์นฮานเป็นการทดลอง ''[[นิวเคลียร์ฟิชชัน]]'' เป็นครั้งแรก<ref>
{{cite journal
| last=Meitner | first=Lise
บรรทัด 248:
| language=German
| accessdate=2009-06-04
}}</ref> ปี ค.ศ. 1944 ฮาห์นได้รับฮานได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]] แต่ไมต์เนอร์กับฟริสช์กลับไม่มีชื่อได้รับร่วมทั้งที่ฮาห์นฮานได้พยายามเสนอแล้ว<ref>
{{cite journal
| last=Crawford |first=E.| year=1997
บรรทัด 529:
}}</ref>
 
นิวเคลียสของอะตอมก็สามารถมีค่าสปินสุทธิได้เช่นกัน ตามปกติแล้วนิวเคลียสเหล่านี้จะเรียงตัวกันในทิศทางแบบสุ่ม อันเนื่องมาจาก[[สภาวะสมดุลความร้อน]] อย่างไรก็ดี มีธาตุบางตัว (เช่น [[ซีนอน|ซีนอน-129]] ซึ่งมีความเป็นไปได้ในการเกิดขั้วสปินที่สถาวะนิวเคลียร์สปินอย่างมีนัยสำคัญ จนมันเรียงตัวกันในทิศทางเดียวกันได้ เงื่อนไขเช่นนี้เรียกว่า hyperpolarization ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้กับ[[การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก]] (MRI) <ref>{{cite journal
| last=Yarris|first=Lynn|title=Talking Pictures
| journal=Berkeley Lab Research Review
บรรทัด 538:
 
=== ระดับพลังงาน ===
อิเล็กตรอนที่ถูกดึงดูดอยู่ภายในอะตอมหนึ่ง ๆ จะมี[[พลังงานศักย์]]ซึ่งแปรผกผันกับระยะห่างของมันจากนิวเคลียส ค่านี้วัดได้จากขนาดของพลังงานที่จำเป็นต้องใช้เพื่อให้อิเล็กตรอนนั้นหลุดออกจากอะตอม โดยปกติใช้หน่วยวัดเป็น [[อิเล็กตรอนโวลต์]] (eV) ในแบบจำลองกลศาสตร์ควอนตัม อิเล็กตรอนที่มีพันธะจะสามารถครอบครองสถานะจำนวนหนึ่งรอบนิวเคลียส แต่ละสถานะนั้นสอดคล้องกับระดับพลังงานที่เฉพาะเจาะจง ระดับพลังงานที่ต่ำที่สุดของอิเล็กตรอนเรียกว่า สภาวะพื้น (ground state) ส่วนอิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานที่สูงกว่าจะเรียกว่าอยู่ในสภาวะกระตุ้น (excited state) <ref>{{cite web
| last=Zeghbroeck|first=Bart J. Van|year=1998
| url=http://physics.ship.edu/~mrc/pfs/308/semicon_book/eband2.htm
บรรทัด 573:
| publisher=University of California-Riverside
| accessdate=2008-02-06
}}</ref> การที่มีสนามไฟฟ้าภายนอกนี้สามารถทำให้เกิดการแยกตัวและการเคลื่อนตัวของเส้นสเปกตรัมที่เปรียบเทียบกันได้โดยการดัดแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า [[ปรากฏการณ์สตาร์ค]] (Stark effect) <ref>Beyer (2003:232–236).</ref>
 
ถ้าอิเล็กตรอนใต้แรงดึงดูดอยู่ในสภาวะกระตุ้น โฟตอนที่มีพลังงานเหมาะสมสามารถ[[การเปล่งแสงแบบกระตุ้น|เปล่งแสง]]ด้วยระดับพลังงานที่ตรงกัน การจะเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ อิเล็กตรอนต้องลดระดับพลังงานลงไปยังสภาวะที่ต่ำกว่าที่ทำให้มีความแตกต่างของระดับพลังงานเท่ากับพลังงานของโฟตอนที่อยู่ในภาวะกระตุ้น โฟตอนที่เปล่งแสงออกมากับโฟตอนในสภาวะกระตุ้นจะเคลื่อนตัวออกโดยขนานกันและด้วยเฟสที่ตรงกัน นั่นก็คือรูปแบบของคลื่นของโฟตอนทั้งสองนั้นสอดประสานกันพอดี คุณสมบัติทางกายภาพเช่นนี้ใช้ในการสร้าง[[เลเซอร์]] ซึ่งสามารถเปล่งลำแสงเชื่อมต่อกันของพลังงานแสงภายในแถบความถี่แคบ ๆ แถบหนึ่ง<ref>{{cite web
บรรทัด 585:
 
=== พฤติกรรมของเวเลนซ์และแรงยึดเหนี่ยว ===
วงโคจรอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดของอะตอมในสภาวะที่ไม่ได้รวมกัน รู้จักกันในชื่อว่า วงโคจรเวเลนซ์ อิเล็กตรอนที่อยู่ในวงโคจรนี้จะเรียกชื่อว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน จำนวนของเวเลนซ์อิเล็กตรอนหาได้จากพฤติกรรมของแรงยึดเหนี่ยวกับอะตอมอื่น ๆ เพราะอะตอมมีแนวโน้มจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับอะตอมอื่น ๆ ในลักษณะที่คอยเติมเต็ม (หรือทำให้ว่าง) วงโคจรเวเลนซ์ชั้นนอกสุด <ref>{{cite web
| last=Reusch|first=William|date=July 16, 2007
| url=http://www.cem.msu.edu/~reusch/VirtualText/intro1.htm
บรรทัด 653:
| doi=10.1016/S0584-8547 (98) 00222-5|pages = 1739–63|bibcode = 1998AcSpe..53.1739J }}</ref>
 
สำหรับกระบวนวิธีที่เจาะจงมากกว่านี้ได้แก่ การตรวจวัดการสูญเสียพลังงานของอิเล็กตรอน (electron energy loss spectroscopy) ซึ่งจะตรวจวัดพลังงานที่สูญเสียจากลำอิเล็กตรอนภายใน[[กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน]]เมื่อมันทำอันตรกิริยากับอะตอมตัวอย่าง ภาพ[[โทโมกราฟี|โทโมกราฟ]]ของ[[อะตอมโพรบ]]ได้ผลลัพธ์สามมิติในระดับต่ำกว่านาโนเมตร และสามารถใช้เครื่อง time-of-flight mass spectrometry เพื่อระบุคุณสมบัติทางเคมีของอะตอมได้<ref name=rsi39_1_83>{{cite journal |last1=Müller |first1=Erwin W. |authorlink1=Erwin Wilhelm Müller |last2=Panitz |first2=John A. |authorlink2=J. A. Panitz |last3=McLane |first3=S. Brooks |authorlink3=S. Brooks McLane |year=1968 |title=The Atom-Probe Field Ion Microscope |journal=[[Review of Scientific Instruments]] |volume=39 |issue=1 |pages=83–86 |doi=10.1063/1.1683116
<ref name=rsi39_1_83>{{cite journal |last1=Müller |first1=Erwin W. |authorlink1=Erwin Wilhelm Müller |last2=Panitz |first2=John A. |authorlink2=J. A. Panitz |last3=McLane |first3=S. Brooks |authorlink3=S. Brooks McLane |year=1968 |title=The Atom-Probe Field Ion Microscope |journal=[[Review of Scientific Instruments]] |volume=39 |issue=1 |pages=83–86 |doi=10.1063/1.1683116
| bibcode = 1968RScI...39...83M }}</ref>
 
เส้น 660 ⟶ 659:
 
== ต้นกำเนิดและสถานะปัจจุบัน ==
อะตอมเป็นส่วนประกอบราว 4% ของความหนาแน่นพลังงานรวมทั้งหมดใน[[เอกภพที่สังเกตได้]] โดยมีค่าความหนาแน่นเฉลี่ยประมาณ 0.25 อะตอมต่อลูกบาศก์เมตร<ref name=hinshaw20060210>{{cite web |last=Hinshaw|first=Gary |date=February 10, 2006 |url=http://map.gsfc.nasa.gov/m_uni/uni_101matter.html |title=What is the Universe Made Of? |publisher=NASA/WMAP|accessdate=2008-01-07}}</ref> สำหรับภายในดาราจักรเช่น[[ทางช้างเผือก]]จะมีอะตอมอยู่เป็นจำนวนหนาแน่นมากกว่ามาก โดยมีความหนาแน่นของสสารใน[[สสารระหว่างดาว]]ระหว่าง 10<sup>5</sup> ถึง 10<sup>9</sup> อะตอม/ลบ.ม.{{sfn|Choppin|Liljenzin|Rydberg|2001|p=441}} เชื่อกันว่า ดวงอาทิตย์ของเราอยู่ภายใน[[ฟองท้องถิ่น]]ซึ่งเป็นบริเวณกลุ่มแก๊สที่มีประจุสูง ดังนั้นความหนาแน่นของบริเวณโดยรอบระบบสุริยะจึงมีเพียง 10<sup>3</sup> อะตอม/ลบ.ม.<ref name=science259_5093_327>{{cite journal |last=Davidsen|first=Arthur F. |title=Far-Ultraviolet Astronomy on the Astro-1 Space Shuttle Mission |journal=[[Science (journal)|Science]] |year=1993|volume=259 |issue=5093|pages=327–34 |doi=10.1126/science.259.5093.327 |pmid=17832344|bibcode = 1993Sci...259..327D }}</ref> ดาวฤกษ์ก่อตัวจากกลุ่มเมฆหนาแน่นในสสารระหว่างดาว และกระบวนการวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ส่งผลให้เกิดธาตุจำนวนมากมายขึ้นในอวกาศระหว่างดาวซึ่งมีมวลหนักกว่าไฮโดรเจนกับฮีเลียม อะตอมภายในทางช้างเผือกกว่า 95% รวมตัวกันอยู่ภายในดาวฤกษ์ และมวลรวมของอะตอมคิดเป็นประมาณ 10% ของมวลดาราจักร{{sfn|Lequeux|2005|p=4}} (มวลส่วนที่เหลือนั้นยังไม่เป็นที่รู้จัก เรียกกันว่า [[สสารมืด]]) <ref name=nigel2000>{{cite web |first=Nigel|last=Smith|date=January 6, 2000 |url=http://physicsworld.com/cws/article/print/809 |title=The search for dark matter |publisher=Physics World|accessdate = 2008-02-14}}</ref>
 
=== การสังเคราะห์นิวเคลียส ===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อะตอม"