ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเสาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|พระเสาร์}}
<br />
{{กล่องข้อมูล ดาวเคราะห์
| สีพื้นหลัง = #c0ffff
| กว้าง =
| ชื่อดาว = ดาวเสาร์
| สัญลักษณ์ = [[ไฟล์:Saturn symbol.svg|25px]]หรือ <font size=6>[[พระเสาร์|๗]]</font>
| ภาพ = [[ไฟล์:Saturn from Cassini Orbiter (2004-10-06).jpg|350px]]
| คำอธิบายภาพ = ภาพถ่ายสีธรรมชาติของดาวเสาร์ที่ระยะห่าง 6.3 ล้านกิโลเมตร ถ่ายโดย[[แคสซีนี–ไฮเกนส์|ยานแคสซินี]] (2004)
| discovery_ref =
| ผู้ค้นพบ = เบ
| วันค้นพบ =
| หลักการค้นพบ =
| ชื่อดาวเคราะห์น้อย (MPC name) =
| ชื่ออื่นๆ =
| ชนิดของดาวเคราะห์น้อย =
| orbit_ref =
| จุดเริ่มยุค = J2000
| ระยะจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด = 1,503,983,449 [[กิโลเมตร|กม.]]<br /> (10.05350840 [[หน่วยดาราศาสตร์]])
| ระยะจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด = 1,349,467,375 กม.<br /> (9.02063224 หน่วยดาราศาสตร์)
| ระยะจุดใกล้โลกที่สุด =
| ระยะจุดไกลโลกที่สุด =
| ระยะจุดใกล้ศูนย์กลางวงโคจรที่สุด =
| ระยะจุดไกลศูนย์กลางวงโคจรที่สุด =
| กึ่งแกนเอก = 1,426,725,413 กม.<br /> (9.53707032 หน่วยดาราศาสตร์)
| กึ่งแกนรอง =
| รัศมีวงโคจรเฉลี่ย =
| เส้นรอบวงของวงโคจร = 59.879 หน่วยดาราศาสตร์
| ความเยื้องศูนย์กลาง = 0.05415060
| คาบการโคจร =
| คาบดาราคติ = 10,757.7365 [[วัน]]<br /> (29.45 [[ปีจูเลียน]])
| คาบซินอดิก = 378.09 วัน
| เดือนทางดาราคติ =
| เดือนจันทรคติ =
| เดือนอะโนมาลิสติก =
| เดือนดราโคนิก =
| เดือนทรอปิคัล =
| อัตราเร็วเฉลี่ยในวงโคจร = 9.638 กม./[[วินาที]]
| อัตราเร็วสูงสุดในวงโคจร = 10.182 กม./วินาที
| อัตราเร็วต่ำสุดในวงโคจร = 9.136 กม./วินาที
| มีนอนิมัลลี =
| ความเอียง = 2.48446[[องศา|°]]<br /> (5.51° กับศูนย์สูตร[[ดวงอาทิตย์]])
| ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น = 113.71504°
| long_periastron =
| time_periastron =
| ระยะมุมจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด = 338.71690°
| ระยะมุมจุดใกล้โลกที่สุด =
| ดาวบริวารของ =
| จำนวนดาวบริวาร = 60<ref>[http://saturn.jpl.nasa.gov/news/features/feature20070719.cfm Saturn Turns 60] - NASA</ref><ref>[http://solarsystem.nasa.gov/planets/profile.cfm?Object=Saturn&Display=Moons Saturn: Moons] - NASA</ref>
| ใส่ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ? (yes/no) = yes
| มิติ =
| อัตราส่วนภาพ =
| ความแป้น = 0.09796
| ค่าความรี =
| เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวศูนย์สูตร = 120,536 กม.<br /> (9.449×[[โลก]])
| เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้ว = 108,728 กม.<br /> (8.552×โลก)
| เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย =
| เส้นรอบวงตามแนวศูนย์สูตร =
| เส้นรอบวงตามแนวขั้ว =
| เส้นรอบวงเฉลี่ย =
| พื้นที่ผิว = 4.27×10<sup>10</sup> [[ตารางกิโลเมตร|กม.²]]<br /> (83.703×โลก)
| พื้นที่ผืนดิน =
| พื้นที่ผืนน้ำ =
| ปริมาตร = 7.46×10<sup>14</sup> [[ลูกบาศก์กิโลเมตร|กม.³]]<br /> (688.79×โลก)
| มวล = 5.6846×10<sup>26</sup> [[กิโลกรัม|กก.]]<br /> (95.162×โลก)
| ความหนาแน่น = 0.68730 กรัม/ซม.³ (น้อยกว่าน้ำ)
| ความโน้มถ่วง = 10.456[[ความเร่ง|เมตร/วินาที²]]<br /> (1.066 [[จี]])
| ความเร็วหลุดพ้น = 35.49 กม./วินาที
| คาบการหมุนรอบตัวเอง = 0.4440092592 วัน<br /> (10 ชม. 39 [[นาที]] 22.40000 วินาที)
| ความเร็วการหมุนรอบตัวเอง = 9.87 กม./วินาที<br /> (35,500 กม./ชม.)
| ความเอียงของแกน = 26.73°
| ความเอียงแกน =
| ไรต์แอสเซนชันของขั้วเหนือ = 40.59°<br /> (2 ชั่วโมง 42 นาที 21 วินาที)
| เดคลิเนชัน = 83.54°
| มุมละติจูดอิคลิปติค =
| มุมลองติจูดอิคลิปติค =
| อัตราส่วนสะท้อน = 0.47
| อุณหภูมิเดี่ยว = 93 [[เคลวิน|K]] (ที่ยอดเมฆ)
| ใส่หลายอุณหภูมิ? (yes/no) = yes
| ชื่ออุณหภูมิ1 = [[เคลวิน]]
| อุณหภูมิ1_ต่ำสุด = 82 [[เคลวิน|K]]
| อุณหภูมิ1_เฉลี่ย = 143 K
| อุณหภูมิ1_สูงสุด =
| ชื่ออุณหภูมิ2 =
| อุณหภูมิ2_ต่ำสุด =
| อุณหภูมิ2_เฉลี่ย =
| อุณหภูมิ2_สูงสุด =
| ชนิดสเปกตรัม =
| โชติมาตรปรากฏ =
| โชติมาตรสัมบูรณ์ =
| ขนาดเชิงมุม =
| อื่นๆ =
| ใส่บรรยากาศ? (yes/no) = yes
| ความดันบรรยากาศที่พื้นผิว = 140 กิโล[[ปาสกาล]]
| ความหนาแน่นบรรยากาศ =
| องค์ประกอบบรรยากาศ = >93% [[ไฮโดรเจน]]<br />>5% [[ฮีเลียม]]<br />0.2% [[มีเทน]]<br />0.1% ไอ[[น้ำ]]<br />0.01% [[แอมโมเนีย]]<br />0.0005% [[อีเทน]]<br />0.0001% [[ไฮโดรเจนฟอสไฟด์]]
}}
 
'''ดาวเสาร์''' ({{lang-en|Saturn}}) เป็น[[ดาวเคราะห์]]ดวงที่ 6 จาก[[ดวงอาทิตย์]] ถัดจาก[[ดาวพฤหัสบดี]] ดาวเสาร์เป็น[[ดาวแก๊สยักษ์]]ที่มีรัศมีเฉลี่ยมากกว่าโลกประมาณเก้าเท่า<ref name="Radius ref">{{cite web
| url = http://www.astrophysicsspectator.com/tables/Saturn.html
| title = Characteristics of Saturn
| accessdate = 5 July 2010
| last = Brainerd
| first = Jerome James
| date = 24 November 2004
| publisher = The Astrophysics Spectator| archiveurl=http://www.webcitation.org/62D9kpF9j |archivedate = 5 October 2011| deadurl=no}}</ref><ref name="Radius ref 2">{{cite web
| url = http://scienceray.com/astronomy/general-information-about-saturn-2/1/
| title = General Information About Saturn
| work = Scienceray
| date = 28 July 2011
| accessdate = 17 August 2011
| archiveurl = http://www.webcitation.org/62DnS5PZe |archivedate = 5 October 2011| deadurl=no}}</ref> แม้ว่าจะมีความหนาแน่นเป็นหนึ่งในแปดของโลก แต่มวลของมันมีมากกว่าโลกถึง 95 เท่า<ref name="Mass ref">{{cite web
| url = http://www.astrophysicsspectator.com/tables/PlanetComparativeData.html
| title = Solar System Planets Compared to Earth
| accessdate = 5 July 2010
| last = Brainerd
| first = Jerome James
| date = 6 October 2004
| publisher = The Astrophysics Spectator| archiveurl=http://www.webcitation.org/62DnSq27J |archivedate = 5 October 2011| deadurl=no}}</ref><ref name="Mass ref 2">{{cite web
| url = http://mynasa.nasa.gov/worldbook/saturn_worldbook.html
| title = NASA – Saturn
| accessdate = 21 July 2011
| last = Dunbar
| first = Brian
| date = 29 November 2007
| publisher = NASA| archiveurl=http://www.webcitation.org/62DnSzntL |archivedate = 5 October 2011| deadurl=no}}</ref><ref name="Mass ref 3" /> ดาวเสาร์ตั้งชื่อตาม[[เทพปกรณัมโรมัน|เทพโรมัน]][[แซทเทิร์น (เทพปกรณัม)|แห่งการเกษตร]] สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์ของดาวเสาร์ (♄) แทน[[เคียว]]ของเทพเจ้า
 
ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลกของเรา
 
== ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ ==
ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนว[[เส้นศูนย์สูตร]] ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลก
 
== วงแหวน ==
{{ดูเพิ่มที่|วงแหวนของดาวเสาร์มีสีดำ}}
วงแหวนของดาวเสาร์ ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กจำนวนมากนับไม่ถ้วน ที่มีขนาดตั้งแต่ไม่กี่ไมโครเมตรไปจนถึงหลายเมตร กระจุกตัวรวมกันอยู่และโคจรไปรอบๆ ดาวเสาร์ อนุภาคในวงแหวนส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง มีบางส่วนที่เป็นฝุ่นและสสารอื่น
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Saturn (planet)}}
* [http://solarsystem.nasa.gov/planets/profile.cfm?Object=Saturn Saturn profile] at NASA's Solar System Exploration site
* [http://nssdc.gsfc.nasa.gov/planetary/factsheet/saturnfact.html Saturn Fact Sheet], by NASA
* [http://planetarynames.wr.usgs.gov/jsp/SystemSearch2.jsp?System=Saturn Gazeteer of Planetary Nomenclature - Saturn (USGS)]
* [http://saturn.jpl.nasa.gov/home/index.cfm Cassini-Huygens mission] to Saturn, by NASA
* [http://www.sciencedaily.com/news/space_time/saturn/ Research News] about Saturn
* [http://www.solarviews.com/eng/saturn.htm General information] about Saturn
* [http://www.affs.org/html/studies_on_the_rings_of_saturn.html Studies on the Rings] of Saturn
* [http://www.astronomycast.com/astronomy/episode-59-saturn/ Astronomy Cast: Saturn]
 
{{ดาวเสาร์}}
{{ระบบสุริยะ}}
 
[[หมวดหมู่:ดาวเสาร์| ]]