ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลนถล่ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8084182 สร้างโดย 27.145.50.100 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 15:
หากจำแนกตาม ''Sharpe (1938)'' จะพิจารณาความเร็วของการย้ายมวล ปริมาณน้ำและความลาดชันของพื้นที่เป็นสำคัญ โดยเรียงลำดับจาก ปริมาณน้ำน้อยและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารมาก ในพื้นที่ความลาดชันสูง – ปริมาณน้ำมากและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารน้อย ในพื้นที่ความลาดชันต่ำ ดังนี้<ref name="Sharpe1960">{{cite book|author=Charles Farquharson Stewart Sharpe|title=Landslides and related phenomena: a study of mass-movements of soil and rock|url=http://books.google.com/books?id=LrFNAAAAMAAJ|accessdate=17 May 2011|year=1960|publisher=Pageant Books}}</ref>
 
# '''แผ่นดินถล่ม'''
# วววว
# '''กองหินจากการถล่ม''' ซึ่งเป็นการถล่มอย่างรวดเร็วจากเทือกเขาสูงชัน โดยอัตราความเร็วอาจมากกว่า 800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สามารถทำลายสิ่งต่างๆที่ขวางกั้น
#วววว
# '''ดินเลื่อน''' เป็นการเคลื่อนตัวของหินหรือหินผุตามไหล่เขาหรือลาดเขาจากแรงดึงดูดของโลก การเลื่อนตัวเป็นไปอย่างช้า ๆจนสามารถกำหนดขอบเขตของการเลื่อนตัวด้านข้าง ถ้าปริมาณน้ำมากขึ้นและการเคลื่อนตัวเร็วขึ้นดินเลื่อนอาจเปลี่ยนเป็นโคลนไหล
#วววว
# '''น้ำหลากแผ่ซ่าน''' เป็นลักษณะการหลั่งไหลของน้ำแผ่ซ่านจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ขณะฝนตกหนัก เพราะปริมาณน้ำมีมากจนไหลลงร่องห้วยลำธารต่างๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการไหลแผ่ซ่านของน้ำออกเป็นผืนบาง ๆ บนผิวดิน
#ววว
# '''การกร่อนแบบพื้นผิว''' เป็นการกร่อนผุพังของพื้นผิวที่มักเกิดในฤดูฝน เพราะน้ำฝนไหลหลากลงสู่ร่องลำธารต่างๆไม่ทันจึงไหลแผ่ซ่านไปตามพื้นดินที่ต่ำกว่า ทำให้เกิดการกัดกร่อนเป็นบริเวณกว้างกว่าน้ำหลากแผ่ซ่าน
# '''ธารน้ำ'''
 
== ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ ==