ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมฆ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เมฆระดับต่ำ
บรรทัด 24:
เมฆยังอาจแบ่งเป็น 4 กลุ่มตามระดับความสูงของเมฆ โดยระดับความสูงของเมฆนี้จะวัดจากฐานของก้อนเมฆ ไม่ได้วัดจากยอด โดย Luke Howard เป็นผู้นำเสนอวิธีการแบ่งกลุ่มแบบนี้ แก่ Askesian Society ใน ค.ศ. 1802
 
==== เมฆระดับสูง (ตระกูล A) ====
 
ก่อตัวที่ความสูงมากกว่า 16,500 ฟุต (5,000 เมตร) ในบริเวณที่อุณหภูมิต่ำในชั้นบรรยากาศ[[โทรโพสเฟียร์]] ที่ความสูงระดับนี้น้ำส่วนใหญ่นั้นจะแข็งตัว ดังนั้นเมฆจะประกอบด้วยผลึกน้ำแข็ง เมฆในชั้นนี้ส่วนใหญ่มักจะมีลักษณะเป็นก้อนเล็ก ๆ และ มักจะค่อนข้างโปร่งใส เมฆในกลุ่มนี้จะมีชื่อนำหน้าด้วย ''เซอร์- (cirr-) ''
บรรทัด 35:
* '''คอนเทรล (Contrail) ''' เป็นเมฆที่เกิดจากความร้อนของเครื่องบินไอพ่น มีลักษณะเป็นเส้นพาดท้องฟ้าตามวิถีการบินของเครื่องบินไอพ่น
 
==== เมฆระดับกลาง (ตระกูล B) ====
ก่อตัวที่ความสูงระหว่าง 6,500 และ 16,500 ฟุต (ระหว่าง 2,000 และ 5,000 เมตร) เมฆจะประกอบด้วยละอองน้ำ และ ละอองน้ำเย็นยิ่งยวด ชื่อของเมฆในชั้นนี้จะนำหน้าด้วย ''อัลโต- (alto-) ''
ชนิดของเมฆ:
บรรทัด 41:
* '''อัลโตสเตรตัส (altostratus - '''As''') : ''Altostratus, Altostratus undulatus ''''' มีลักษณะเป็นแผ่นหนาบางสม่ำเสมอในชั้นกลางของบรรยากาศ มองดูเรียบเป็นปุยหรือฝอยละเอียดแผ่ออกเป็นพืด เป็นลูกคลื่น ปกคลุมเต็มท้องฟ้า มีสีขาว สีเทาอ่อนหรือน้ำเงินอ่อน และอาจมีบางส่วนที่ บางพอที่แสงอาทิตย์จะส่องผ่านลงมายังพื้นดินได้ อาจมีแสงทรงกลด
 
==== เมฆระดับต่ำ (ตระกูล C) ====
ก่อตัวที่ความสูงต่ำกว่า 6,500 ฟุต (2,000 เมตร) และ รวมถึง[[สเตรตัส]] (stratus) เมฆสเตรตัสที่ลอยตัวอยู่ระดับพื้นดินเรียก [[หมอก]]
 
บรรทัด 52:
* '''นิมโบสตราตัส (Nimbostratus - '''Ns''') ''' มีลักษณะเป็นแผ่นหนาสีเทาดำ เป็นแนวยาวติดต่อกัน แผ่กว้างออกไป ไม่เป็นรูปร่าง เป็นเมฆที่ทำให้เกิดฝนตก จึงเรียกกันว่า "เมฆฝน" เมฆชนิดนี้จะไม่มีฟ้าแลบฟ้าร้อง เกิดเฉพาะในเขตอบอุ่นเท่านั้น
 
==== เมฆแนวตั้ง (ตระกูล D) ====
เป็นเมฆที่มีแนวก่อตัวในแนวตั้ง ซึ่งทำให้เมฆมีความสูงจากฐาน
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เมฆ"