ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคเฮเซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
กานเชลซี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
วณิพก (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น|Tokyo Sky Tree 2012.JPG|200px}}
 
'''รัชศกยุคเฮเซ''' ({{ญี่ปุ่น|平成時代|Heisei jidai}}) เป็น[[ศักราชของญี่ปุ่น|ชื่อยุคและชื่อรัชศกในปัจจุบันของ[[ประเทศญี่ปุ่น]] โดยรัชศกเฮเซเริ่มต้นเมื่อวันที่ 8 มกราคม [[ค.ศ. 1989]] โดยเริ่มนับจากปีวันที่[[สมเด็จพระจักรพรรดิอะอากิฮิโตะ]]เริ่มขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิลำดับที่ 25 ในวันหลังจากการวันสวรรคตของพระราชบิดา[[สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตโตะ]]พระราชบิดา (สิ้นสุดรัชศก[[ตามธรรมเนียมของประเทศญี่ปุ่น สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะได้รับการขนานพระนามว่า "จักรพรรดิโชวะ]])" เมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1989
 
ด้วยเหตุนี้ ปี ค.ศ. 1989 จึงนับเป็น[[ยุคโชวะ|ศักราชโชวะ]]ปีที่ 64 จนถึงวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1989 และเป็นศักราชเฮเซปีที่ 1 ({{ญี่ปุ่น|平成元年|Heisei gannen|''gannen'' มีความหมายว่า "ปีแรก"}}) ตั้งแต่วันที่ 8 มกราคมเป็นต้นไป ในการแปลงศักราชตาม[[ปฏิทินเกรโกเรียน]] (ค.ศ. 1989–2019) ให้เป็นศักราชเฮเซนั้น ต้องนำเลขปีมาลบด้วย 1989 แล้วบวกด้วย 1 (ตัวอย่างเช่น ค.ศ. {{CURRENTYEAR}} แปลงเป็นศักราชเฮเซได้เป็น: {{nowrap|1={{CURRENTYEAR}}-1989+1}}={{nowrap|1={{#expr:{{CURRENTYEAR}}-1989+1}}}} ดังนั้นปี ค.ศ. {{CURRENTYEAR}}={{nowrap|1=ศักราชเฮเซปีที่ {{#expr:{{CURRENTYEAR}}-1989+1}}}})
คำว่าเฮเซมีความหมายว่า "สงบสุขทุกสารทิศ"{{ต้องการอ้างอิง}}
 
ยุคเฮเซจะสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 2019 (ศักราชเฮเซปีที่ 31) ซึ่งเป็นวันที่สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะมีกำหนดการจะสละ[[ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ]] <ref name=kyodo011217>{{cite web |url=https://english.kyodonews.net/news/2017/12/5e229b7aa920-japan-holds-panel-meeting-to-weigh-emperors-abdication-date.html|title=Japan's emperor to abdicate on April 30, 2019: gov't source|author=<!--Not stated--> |date=1 December 2017|website=english.kyodonews.net |publisher=Kyodo News|access-date=1 December 2017}}</ref>
 
[[ไฟล์:Japanese-royal-2008-01.jpg|thumb|400px|left|พระราชวงศ์ญี่ปุ่นปัจจุบัน (จากซ้าย) [[เจ้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น]], [[เจ้าหญิงโทชิ]], [[เจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น]], [[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]], [[สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ]], [[เจ้าชายอะกิชิโนะ โทะชิ]], [[เจ้าชายฮิซะฮิโตะ]] และ[[เจ้าหญิงคิโกะ อะกิชิโนะ]] ส่วนสองพระองค์ที่ทรงยืนคือ [[เจ้าหญิงมะโกะ อะกิชิโนะ]] และ [[เจ้าหญิงคะโกะ อะกิชิโนะ]]]]
 
==ประวัติและความหมาย==
เมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1989 เวลา 7.55 น. ตาม[[เวลามาตรฐานญี่ปุ่น]] โชอิจิ ฟูจิโมริ จางวางใหญ่แห่ง[[สำนักพระราชวังญี่ปุ่น]]ได้ประกาศว่าสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะสวรรคตเมื่อเวลา 6.33 น. ตาม[[เวลามาตรฐานญี่ปุ่น]]และได้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับพระโรคมะเร็งของพระองค์เป็นครั้งแรก ไม่นานหลังจากการสวรรคตของจักรพรรดิ [[เคโซ โอบูจิ]] เลขาธิการใหญ่แห่งสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่นในขณะนั้น (ภายหลังเป็น[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น]) ได้ประกาศการสิ้นสุดของรัชศกโชวะและประกาศชื่อ "เฮเซ" เป็นชื่อรัชศกใหม่ของจักพรรดิพระองค์ใหม่
 
โอบูจิได้อธิบายความของชื่อ "เฮเซ" ว่ามีที่มาจากบันทึกประวัติศาสตร์และปรัชญาของจีนสองเล่ม คือ''[[บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่|ฉื่อจี้]]'' (史記 ''Shǐjì'') และ''[[ชูจิง]]'' (書経 ''Shūjīng'') ใน''ฉื่อจี้'' มีประโยคว่า "内平外成" (''nèi píng wài chéng''; คัมบุง: 内平かに外成る ''Uchi tairaka ni soto naru'') ปรากฏในส่วนที่สรรเสริญการปกครองด้วยพระอัจฉริยภาพของ[[พระเจ้าชุ่น]] จักรพรรดิในตำนานของจีน ใน''ชูจิง'' ปรากฏประโยคว่า "地平天成" (''dì píng tiān chéng''; คัมบุง: 地平かに天成る ''Chi tairaka ni ten naru'', "สันติสุขในฟ้าดิน") ด้วยการนำความหมายของสองประโยคนี้มารวมเข้าด้วยกัน "เฮเซ" จึงมีความหมายว่า "สันติสุขทุกหนทุกแห่ง" ยุคเฮเซเริ่มต้นทันทีในวันหลังการขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1989
 
==ตารางเทียบศักราช==
<center>
{| class="wikitable"
! [[ยุคโชวะ|โชวะ]]
| 62 || 63 || 64
|-
! [[ปฏิทินเกรโกเรียน|เกรโกเรียน]]
| 1987 || 1988 || 1989</tr>
|}
{| class="wikitable"
! เฮเซ
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7 || 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14 || 15 || 16
|-
! [[ปฏิทินเกรโกเรียน|เกรโกเรียน]]
| 1989 || 1990 || 1991 || 1992 || 1993 || 1994 || 1995 || 1996 || 1997 || 1998 || 1999 || 2000 || 2001 || 2002 || 2003 || 2004
|}
{| class="wikitable"
! เฮเซ
| 17 || 18 || 19 || 20 || 21 || 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28 || 29 || 30 || 31
|-
! [[ปฏิทินเกรโกเรียน|เกรโกเรียน]]
| 2005 || 2006 || 2007 || 2008 || 2009 || 2010 || 2011 || 2012 || 2013 || 2014 || 2015 || 2016 || 2017 || 2018 || 2019
|}
</center>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
|ตำแหน่ง = [[ศักราชของญี่ปุ่น|รัชศก]]
|จำนวนตำแหน่ง =
|ก่อนหน้า = [[ยุคโชวะ|โชวะ]]
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = -
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = 8 มกราคม ค.ศ. 1989 – {{smaller|ปัจจุบัน}}
}}
{{จบกล่อง}}
 
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) รัชศกเฮเซได้เข้าสู่ปีที่ 31 และรัชศกเฮเซจะสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562 ตามแผนการสละราชสมบัติของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ <ref>{{https://www.bbc.com/thai/international-42191322}}</ref>
[[ไฟล์:Japanese-royal-2008-01.jpg|thumb|400px|left|พระราชวงศ์ญี่ปุ่นปัจจุบัน (จากซ้าย) [[เจ้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น]], [[เจ้าหญิงโทชิ]], [[เจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น]], [[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]], [[สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ]], [[เจ้าชายอะกิชิโนะ โทะชิ]], [[เจ้าชายฮิซะฮิโตะ]] และ[[เจ้าหญิงคิโกะ อะกิชิโนะ]] ส่วนสองพระองค์ที่ทรงยืนคือ [[เจ้าหญิงมะโกะ อะกิชิโนะ]] และ [[เจ้าหญิงคะโกะ อะกิชิโนะ]]]]
 
{{เรียงลำดับ|ฮแซ}}