ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายพระนามและชื่ออธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
ประธานศาลฎีกาเป็นประมุขฝ่ายตุลาการในทาง[[นิตินัย]]มีศักดิ์ศรีเทียบเท่า[[นายกรัฐมนตรี]] และ[[ประธานรัฐสภา]]ตำแหน่งทั้งสามมีฐานะเป็น ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง
*|post [[= ประธานศาลฎีกา]]
ปีพุทธศักราช 2475 ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ราชการ[[ศาลยุติธรรม]]ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมแก่กาลสมัยและก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้น ในเบื้องแรกได้มีบทบัญญัติใน[[รัฐธรรมนูญ]]แยกการศาลทางตุลาการออกเป็นสัดส่วนจากการบริหาร ได้ประกาศใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2477 ปรับปรุงศาลตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2451 และประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2455 โดยแบ่งศาลออกเป็น 3 ชั้น คือ [[ศาลชั้นต้น]] [[ศาลอุทธรณ์]] และ[[ศาลฎีกา]] (ศาลสูงสุด) มีอธิบดีศาลฎีการับผิดชอบในงานของศาลฎีกา และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2482 ได้มี[[พระราชบัญญัติ]]แก้ไขเพิ่มเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2482 เปลี่ยนชื่ออธิบดีศาลฎีกา เป็น ประธานศาลฎีกา ตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาหรือตำแหน่งประธานศาลฎีกานี้ ไม่ใช่เป็นตำแหน่งแต่หัวหน้าส่วนราชการในศาลฎีกาเท่านั้น ยังเป็นประธานในราชการฝ่าย[[ตุลาการ]]และเป็นอิสระจากเสนาบดีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจวางระเบียบราชการฝ่ายตุลาการของศาลทั้งหลาย เพื่อให้กิจการของศาลดำเนินไปโดยเรียบร้อยและเป็นระเบียบเดียวกัน ภายใต้เงื่อนไขตามที่กฎหมายบัญญัติและมีเสียงอันสำคัญในการแต่งตั้งโยกย้ายและเลื่อนตำแหน่งผู้พิพากษาทั้งกระทรวงด้วย [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]] ได้ทรงเรียกตำแหน่งนี้ว่า "ประมุขตุลาการ" ในสมัยที่[[เจ้าพระยามหิธร]]เป็นอธิบดีศาลฎีกานั้น หนังสือพิมพ์บางกอกไทม์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของชาวอังกฤษเรียกตำแหน่งนี้ว่า "Lord Chief Justice" ซึ่งแปลว่า ประมุขตุลาการ*
|insignia = ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG
นับจากอดีตถือได้ว่า ประธานศาลฎีกา มีบทบาทอย่างสำคัญต่ออำนาจตุลาการของประเทศ เนื่องจากประธานศาลฎีกามีฐานะเป็นประมุขของฝ่ายตุลาการที่มีหน้าที่ในการคานและดุลกับอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติ และนับจากวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา บทบาทของประธานศาลฎีกามีความโดดเด่นและชัดเจนยิ่งขึ้น จากการที่[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]มาตรา 275 ได้บัญญัติให้[[ศาลยุติธรรม]]มีหน่วยธุรการที่เป็นอิสระ บทบาทเบื้องต้นของประธานศาลฎีกาที่ชัดเจน ได้แก่ การรักษาตามพระราชบัญญัติสำคัญรวม 3 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 พระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
|insigniasize = 120px
|insigniacaption = ตราศาลฎีกา
|flag = File:Flag of the President of the Supreme Court of Thailand.svg
|flagsize = 160px
|flagborder = yes
|flagcaption = ธงประธานศาลฎีกา
|image =
|incumbent = [[ชีพ จุลมนต์]]
| incumbentsince = 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560
|style =
|residence =
|appointer = [[พระมหากษัตริย์ไทย]]
|nominator =
|termlength =
|formation = พ.ศ. 2428
|succession =
|inaugural = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร]]
|website =
}}
ประธานศาลฎีกาเป็นประมุขฝ่ายตุลาการในทาง[[นิตินัย]]มีศักดิ์ศรีเทียบเท่า[[นายกรัฐมนตรี]] และ[[ประธานรัฐสภา]] ตำแหน่งทั้งสามมีฐานะเป็น ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง
 
== ประวัติ ==
ปีพุทธศักราช 2475 ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบ[[ระบอบประชาธิปไตย]] โดยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข]] ราชการ[[ศาลยุติธรรม]]ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมแก่กาลสมัยและก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้น ในเบื้องแรกได้มีบทบัญญัติใน[[รัฐธรรมนูญ]]แยกการศาลทางตุลาการออกเป็นสัดส่วนจากการบริหาร ได้ประกาศใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2477 ปรับปรุงศาลตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2451 และประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2455 โดยแบ่งศาลออกเป็น 3 ชั้น คือ [[ศาลชั้นต้น]] [[ศาลอุทธรณ์]] และ[[ศาลฎีกา]] (ศาลสูงสุด) มีอธิบดีศาลฎีการับผิดชอบในงานของศาลฎีกา และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2482 ได้มี[[พระราชบัญญัติ]]แก้ไขเพิ่มเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2482 เปลี่ยนชื่ออธิบดีศาลฎีกา เป็น ประธานศาลฎีกา ตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาหรือตำแหน่งประธานศาลฎีกานี้ ไม่ใช่เป็นตำแหน่งแต่หัวหน้าส่วนราชการในศาลฎีกาเท่านั้น ยังเป็นประธานในราชการฝ่าย[[ตุลาการ]]และเป็นอิสระจากเสนาบดีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจวางระเบียบราชการฝ่ายตุลาการของศาลทั้งหลาย เพื่อให้กิจการของศาลดำเนินไปโดยเรียบร้อยและเป็นระเบียบเดียวกัน ภายใต้เงื่อนไขตามที่กฎหมายบัญญัติและมีเสียงอันสำคัญในการแต่งตั้งโยกย้ายและเลื่อนตำแหน่งผู้พิพากษาทั้งกระทรวงด้วย [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]] ได้ทรงเรียกตำแหน่งนี้ว่า "ประมุขตุลาการ" ในสมัยที่[[เจ้าพระยามหิธร]]เป็นอธิบดีศาลฎีกานั้น หนังสือพิมพ์บางกอกไทม์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของชาวอังกฤษเรียกตำแหน่งนี้ว่า "Lord Chief Justice" ซึ่งแปลว่า ประมุขตุลาการ*
 
ตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาหรือตำแหน่งประธานศาลฎีกานี้ ไม่ใช่เป็นตำแหน่งแต่หัวหน้าส่วนราชการในศาลฎีกาเท่านั้น ยังเป็นประธานใน[[ข้าราชการฝ่ายตุลาการ (ประเทศไทย)|ราชการฝ่ายตุลาการ]]และเป็นอิสระจากเสนาบดีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจวางระเบียบราชการฝ่ายตุลาการของศาลทั้งหลาย เพื่อให้กิจการของศาลดำเนินไปโดยเรียบร้อยและเป็นระเบียบเดียวกัน ภายใต้เงื่อนไขตามที่กฎหมายบัญญัติ และมีเสียงอันสำคัญในการแต่งตั้งโยกย้ายและเลื่อนตำแหน่งผู้พิพากษาทั้งกระทรวงด้วย [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]] ได้ทรงเรียกตำแหน่งนี้ว่า "ประมุขตุลาการ" ในสมัยที่[[เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)]] เป็นอธิบดีศาลฎีกานั้น หนังสือพิมพ์บางกอกไทม์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของชาวอังกฤษเรียกตำแหน่งนี้ว่า "Lord Chief Justice" ซึ่งแปลว่า ประมุขตุลาการ*
 
นับจากอดีตถือได้ว่า ประธานศาลฎีกา มีบทบาทอย่างสำคัญต่ออำนาจตุลาการของประเทศ เนื่องจากประธานศาลฎีกามีฐานะเป็นประมุขของฝ่ายตุลาการที่มีหน้าที่ในการคานและดุลกับอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติ และนับจากวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา บทบาทของประธานศาลฎีกามีความโดดเด่นและชัดเจนยิ่งขึ้น จากการที่[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]มาตรา 275 ได้บัญญัติให้[[ศาลยุติธรรม]]มีหน่วยธุรการที่เป็นอิสระ บทบาทเบื้องต้นของประธานศาลฎีกาที่ชัดเจน ได้แก่ การรักษาตามพระราชบัญญัติสำคัญรวม 3 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 พระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
 
== รายนามและรายพระนาม ==
ต่อไปนี้เป็น รายพระนามและรายนามของผู้ทรงดำรงตำแหน่งและดำรงตำแหน่งอธิบดีและประธาน[[ศาลฎีกา]]{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง|post = ประธานศาลฎีกา <br> ราชอาณาจักรไทย|insignia = ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|insigniasize = 120px|insigniacaption = ตราศาลฎีกา|flag = File:Flag of the President of the Supreme Court of Thailand.svg|flagsize = 160px|flagborder = yes|flagcaption = ธงประธานศาลฎีกา|image =|incumbent = [[ชีพ จุลมนต์]]| incumbentsince = [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2560]]|style =|residence =|appointer = [[พระมหากษัตริย์ไทย]]|nominator =|termlength =|formation = พ.ศ. 2428|succession =|inaugural = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร]]|website =}}
ต่อไปนี้เป็น รายพระนามและรายนามของอธิบดีและประธานศาลฎีกา
{| class="wikitable"
|- style="background:#ebf5ff;"
เส้น 12 ⟶ 39:
! ดำรงตำแหน่ง
|-
|1||[[ไฟล์:Prince Phichit Prichakon.jpg|100px ]] ||[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร]]||พ.ศ. 2428
|-
|2||[[ไฟล์:พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย.jpg|100px ]] || [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริศิริธัชสังกาศ]]||พ.ศ. 2432
|-
|3||[[ไฟล์:Prince Svastivatana Visishta.jpg|100px ]] || [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]]||พ.ศ. 2455 - 31 ส.ค. 2461
|-
|4||[[ไฟล์:เจ้าพระยามหิธร.jpg|100px ]] || [[เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)|พระมหาเสวกโท พระยาจักรปาณีศรีศิลวิสุทธิ์]] (ลออ ไกรฤกษ์)]]||31 ส.ค. 2461 - 11 ธ.ค. 2462
|-
|5||[[ไฟล์:พระยากฤติกานุกรณ์กิจ 0001.png|100px ]] || [[พระยากฤติกานุกรณ์กิจ|มหาอำมาตย์โท [[เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)|พระยากฤติกานุกรณ์กิจ (ดั่น บุนนาค)]]||11 ธ.ค. 2462 - 6 พ.ค. 2469
|-
|6||[[ไฟล์:จิตร ณ สงขลา 2.jpg |100px ]] || มหาอำมาตย์โท [[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ|มหาอำมาตย์โท (จิตร ณ สงขลา)|พระยาจินดาภิรมย์ราชสภาบดี]] (จิตร ณ สงขลา)]]||6 พ.ค. 2469 - 15 ธ.ค. 2471
|-
|7||[[ไฟล์:พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี 0001.jpg|100px ]] || [[พระยาเทพวิทุร พหุลศรุตาบดี|มหาอำมาตย์โท [[พระยาเทพวิทุรวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย พหุลศรุตาบดีวณิกกุล)]]||15 ธ.ค. 2471 - พ.ศ. 2476
|-
|8||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] || [[พระยาศรีสังกร]] (ตาด จารุรัตน์)]]||1 ม.ค. 2476 - 1 เม.ย. 2477
|-
|9||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[พระยาวิกรมรัตนสุภาษ]] (ชม ศุขะวณิช)]]||1 เม.ย. 2477 - ธ.ค. 2483
|-
|10||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] || [[พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์]] (วงษ์ ลัดพลี)]]||17 ม.ค. 2484 - พ.ศ. 2495
|-
|11||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[พระมนูเวทย์วิมลนาท]] (มนูเวทน์ สุมาวงศ์)]]||28 ส.ค. 2496 - 4 มิ.ย. 2501
|-
|12||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[พระยาธรรมบัณฑิตสิทธิศฤงคาร]] (บุญจ๋วน บุญยะปานะ)]]||15 ก.ค. 2501 - 11 พ.ย. 2501
|-
|13||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[หลวงจำรูญเนติศาสตร์]] (จำรุญ โปษยานนท์)]]||1 เม.ย. 2502 - 1 ต.ค. 2505
|-
|14||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[ประวัติ ปัตตพงศ์|นายประวัติ ปัตตพงศ์]]||15 ต.ค. 2504 - 1 ต.ค. 2506
|-
|15||[[ไฟล์:Sanya Dharmasakti.jpg|100px ]] || ศาสตราจารย์[[สัญญา ธรรมศักดิ์|สัญญา ธรรมศักดิ์]]||1 ต.ค. 2506 - 1 ต.ค. 2510
|-
|16||[[ไฟล์:P1666.jpg |100px ]] ||[[ประกอบ หุตะสิงห์|นายประกอบ หุตะสิงห์]]||1 ต.ค. 2510 - 1 ต.ค. 2515
|-
|17||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[ทองคำ จารุเหติ|นายทองคำ จารุเหติ]]||15 ต.ค. 2515 - 15 มี.ค. 2516
|-
|18||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[จินดา บุณยอาคม|นายจินดา บุณยอาคม]]||1 เม.ย. 2516 - 1 ต.ค. 2517
|-
|19||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]]||[[สุธรรม ภัทราคม|นายสุธรรม ภัทราคม]]||1 ต.ค. 2517 - 1 ต.ค. 2520
|-
|20||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]]||[[วิกรม เมาลานนท์|นายวิกรม เมาลานนท์]]||1 ต.ค. 2520 - 1 ต.ค. 2521
|-
|21||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]]||[[ประพจน์ ถิระวัฒน์|นายประพจน์ ถิระวัฒน์]]||1 ต.ค. 2521 - 30 ก.ย. 2523
|-
|22||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]]||[[บัญญัติ สุชีวะ|นายบัญญัติ สุชีวะ]]||1 ต.ค. 2523 - 30 ก.ย. 2527
|-
|23||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]]||[[ภิญโญ ธีรนิติ|นายภิญโญ ธีรนิติ]]||1 ต.ค. 2527 - 30 ก.ย. 2530
|-
|24||[[ไฟล์:จำรัส เขมะจารุ.jpg|100px]]||[[จำรัส เขมะจารุ|นายจำรัส เขมะจารุ]]||1 ต.ค. 2530 - 30 ก.ย. 2532
|-
|25||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]]||[[อำนัคฆ์ คล้ายสังข์|นายอำนัคฆ์ คล้ายสังข์]]||1 ต.ค. 2532 - 30 ก.ย. 2533
|-
|26||[[ไฟล์:โสภณรัตนากร.JPG|100px ]]||ศาสตราจารย์พิเศษ[[โสภณ รัตนากร|โสภณ รัตนากร]]||1 ต.ค. 2533- - 30 ก.ย. 2534
|-
|27||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]]||[[สวัสดิ์ โชติพานิช|นายสวัสดิ์ โชติพานิช]]||1 ต.ค. 2534 - 30 ก.ย. 2535
|-
|28||[[ไฟล์:Praman chanshi.jpg|100px ]]||[[ประมาณ ชันซื่อ|นายประมาณ ชันซื่อ]]||1 ต.ค. 2535 - 30 ก.ย. 2539
|-
|29||[[ไฟล์:ศักดา โมกขมรรคกุล.jpg|100px ]]||[[ศักดา โมกขมรรคกุล|นายศักดา โมกขมรรคกุล]]||1 ต.ค. 2539 - 30 ก.ย. 2541
|-
|30||[[ไฟล์:ปิ่นทิพย์ สุจริตกุล 0001.jpg|100px ]]||[[ปิ่นทิพย์ สุจริตกุล|นายปิ่นทิพย์ สุจริตกุล]]||1 ต.ค. 2541 - 30 ก.ย. 2542
|-
|31||[[ไฟล์:จเร อำนวยวัฒนา 0001.jpg|100px ]]||[[จเร อำนวยวัฒนา|นายจเร อำนวยวัฒนา]]||1 ต.ค. 2542 - 30 ก.ย. 2543
|-
|32||[[ไฟล์:ธวัชชัย พิทักษ์พล 0001.jpg|100px ]]||[[ธวัชชัย พิทักษ์พล|นายธวัชชัย พิทักษ์พล]]||8 ก.พ. 2544 - 30 ก.ย. 2544
|-
|33||[[ไฟล์:สันติ ทักราล.jpg|100px ]] ||[[สันติ ทักราล|นายสันติ ทักราล]]||1 ต.ค. 2544 - 30 ก.ย. 2545
|-
|34||[[ไฟล์:Atthaniti Disatha-amnarj.jpg|100px ]]||[[อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ|นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ]]||1 ต.ค. 2545 - 30 ก.ย. 2547
|-
|35||[[ไฟล์:Supachai-Phungam.jpg|100px ]]||[[ศุภชัย ภู่งาม|นายศุภชัย ภู่งาม]]||1 ต.ค. 2547 - 30 ก.ย. 2548
|-
|36||[[ไฟล์:Chanchai Likhitjitta.jpg|100px ]]||[[ชาญชัย ลิขิตจิตถะ|นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ]]||1 ต.ค. 2548 – 30 ก.ย. 2549
|-
|37||[[ไฟล์:ปัญญา ถนอมรอด.jpg|100px ]]||[[ปัญญา ถนอมรอด|นายปัญญา ถนอมรอด]]||1 ต.ค. 2549 - 30 ก.ย. 2550
|-
|38||[[ไฟล์:วิรัช ลิ้มวิชัย.jpg|100px ]]||[[วิรัช ลิ้มวิชัย|นายวิรัช ลิ้มวิชัย]]||1 ต.ค. 2550 - 30 ก.ย. 2552
|-
|39||[[ไฟล์:สมโชค สุขารมณ์ 0001.jpg|100px ]]||[[สบโชค สุขารมณ์|นายสบโชค สุขารมณ์]]||1 ต.ค. 2552 - 30 ก.ย. 2554
|-
|40||[[ไฟล์:มนตรี ยอดปัญญา 0001.jpg|100px ]]||[[มนตรี ยอดปัญญา|นายมนตรี ยอดปัญญา]]||1 ต.ค. 2554 - 26 พ.ย. 2554
|-
|41||[[ไฟล์:ไพโรจน์ วายุภาพ.jpg|100px ]]||[[ไพโรจน์ วายุภาพ|นายไพโรจน์ วายุภาพ]] ||27 พ.ย. 2554 - 30 ก.ย. 2556
|-
|42||[[ไฟล์:ดิเรก อิงคนินันท์ 0001.jpg|100px ]]||[[ดิเรก อิงคนินันท์|นายดิเรก อิงคนินันท์]] ||1 ต.ค. 2556 - 30 ก.ย. 2558
|-
|43||[[ไฟล์:Weerapol.jpg|129x129px]]||[[วีระพล ตั้งสุวรรณ|นายวีระพล ตั้งสุวรรณ]] || 1 ต.ค. 2558 - 30 ก.ย. 2560
|-
|44||[[ไฟล์:SupremeCourt logo.JPG|100px ]] ||[[ชีพ จุลมนต์|นายชีพ จุลมนต์]] || 1 ต.ค. 2560
|-
|}
เส้น 117 ⟶ 144:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ศาลฎีกา]]
* [[รายนามประธานรัฐสภาไทย]]
* [[รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย]]
เส้น 126 ⟶ 152:
* [http://www.kodmhai.com/m4/m4-11/H11/m1-14.html พระธรรมนูญศาลยุติธรรม]
* [http://www.museum.coj.go.th/pratan/pratan.html ประวัติความเป็นมา]
 
[[หมวดหมู่:ประธานศาลฎีกาไทย| ]]
[[หมวดหมู่:รายนามบุคคล|ประธานศาลฎีกา]]
[[หมวดหมู่:รายนามบุคคล|ป]]