ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศติมอร์-เลสเต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Film-DekPakChong (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
นำกลับมา
บรรทัด 67:
}}
 
'''ติมอร์-เลสเต''' ({{lang-pt|Timor-Leste}}, {{IPA-pt|tiˈmoɾ ˈlɛʃtɨ|pron}}, ''ตีโมร์แลชตือ'') หรือ '''ติมอร์ตะวันออก''' ({{lang-tet|Timór Lorosa'e}}) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า '''สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต''' ({{lang-pt|República Democrática de Timor-Leste}}; {{lang-tet|Repúblika Demokrátika Timór-Leste}}) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บน[[เกาะ]]ในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ประกอบด้วย[[เกาะติมอร์]]ด้านตะวันออก เกาะอาเตารู (Atauro) และเกาะฌากู (JทางตะวันออกประมาณJaco) 2,100 กิโลเมตร ประเทศติมอร์ตะวันออกประกอบไปด้วยดินแดนส่วนปลายด้านตะวันออกของเกาะติมอร์ที่อยู่ใกล้เคียง และมีดินแดนส่วนแยก[[เทศบาลโอเอกูซีที่]] (Oecusse) ซึ่งตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตอนเหนือฝั่งตะวันตกของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันตกซึ่งอยู่ในการปกครองออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของ[[ประเทศอินโดนีเซีย]]
 
แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดย[[ประเทศอินโดนีเซีย]] ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็น[[จังหวัด]]หนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วม[[องค์การสหประชาชาติ]]ในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียกประเทศอย่างเป็นทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อใน[[ภาษาโปรตุเกส]] มีดอกไม้ประจำชาติคือดอกกุหลาบ
 
== ภูมิศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Tasitolu,_Dili,_East_Timor_(310331891).jpg|thumb|200px|ชายฝั่งทาซิโตลู]]
ประเทศติมอร์-เลสเตเป็นประเทศหมู่เกาะ จัดเป็นเกาะในกลุ่มเกาะอินโดนีเซีย เรียกว่า เกาะติมอร์ ด้วยเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ที่เป็นเกาะขนาดเล็ก เกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของ[[ประเทศออสเตรเลีย]] และอยู่ห่างจากกรุงจาการ์ตา ของประเทศอินโดนีเซียไปทางตะวันออกประมาณ 2,100 กิโลเมตร ประเทศติมอร์ตะวันออกประกอบไปด้วยดินแดนส่วนปลายด้านตะวันออกของเกาะติมอร์ และมีดินแดนส่วนแยกเทศบาลโอเอกูซีที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตอนเหนือของติมอร์ตะวันตกซึ่งอยู่ในการปกครองของประเทศอินโดนีเซีย
 
=== ภูมิอากาศ ===
เส้น 76 ⟶ 82:
=== อาณานิคมโปรตุเกส ===
{{บทความหลัก|อาณานิคมติมอร์ของโปรตุเกส}}
ดินแดนติมอร์ตะวันออกเป็นอาณานิคมของประเทศ[[โปรตุเกส]]ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2063]] (ค.ศ. 1520)
 
=== การอ้างสิทธิ์เรียกร้องเอกราช ===
เส้น 82 ⟶ 88:
[[ไฟล์:East Timor Demo.jpg|thumb|200px|left|การอ้างสิทธิ์เรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย]]
 
ภายหลัง[[ประเทศโปรตุเกส|โปรตุเกส]]ถอนตัวออกไปเมื่อปี [[พ.ศ. 2518]] โดยมิได้จัดการปกครองให้แก่ติมอร์ตะวันออกแต่อย่างใด เป็นเหตุให้ประเทศ[[อินโดนีเซีย]]ได้ส่งทหารเข้ายึดครองติมอร์ตะวันออกโดยผนวกเข้าเป็นจังหวัดที่ 27 ของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งต่อมาได้ถูกคัดค้านจากประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกเป็นเหตุให้เกิดความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่การชุมนุมทางศาสนาในพิธี[[มิสซา]]ที่โบสถ์โมตาเอล (Motael) เมื่อวันที่ [[12 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1991]] ริมทะเลกรุงดิลี โดยผู้ชุมนุมได้เดินขบวนไปยังสุสานซานตาครูซจำนวนผู้ร่วมชุมนุมจึงมีมากขึ้น และการชุมนุมก็เปลี่ยนเป็นการเรียกร้องเอกราช โดยมีนาย[[ชานานา กุฌเมา]] เป็นผู้นำที่มีบทบาทอย่างมากต่อการเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย
 
อย่างไรก็ดีเมื่อรัฐบาลอินโดนีเซียยินยอมให้ชาวติมอร์ตะวันออกลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราชจากอินโดนีเซีย ในวันที่ [[30 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2542]] ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกกว่าร้อยละ 80 ออกเสียงสนับสนุนการแยกตัวเป็นเอกราช จึงก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรงในติมอร์ตะวันออกโดยกลุ่มกองกำลังมิลิเทีย (militia) ที่นิยมอินโดนีเซีย สหประชาชาติจึงได้ตัดสินใจจัดตั้งกองกำลังนานาชาติ (International Force in East Timor – INTERFET) เมื่อ 15 กันยายน 2542 เพื่อส่งเข้าไปรักษาสันติภาพในติมอร์ตะวันออก ก่อนที่จะประกาศเอกราชในวันที่ [[20 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2545]] ในขณะนี้ สหประชาชาติดำเนินการสนับสนุนติมอร์ตะวันออกภายใต้ United Nations Mission of Support in East Timor (UNMISET) ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545
 
=== วิกฤตการเมือง พ.ศ. 2548 ===
ความวุ่นวายได้เริ่มขึ้นในติมอร์-เลสเตเมื่อเดือนเมษายน พ. หลังจากที่การชุมนุมเพื่อสนับสนุนทหารติมอร์-เลสเต 600 นาย ซึ่งถูกปลดออกจากราชการเนื่องจากหนีทัพกลายเป็นการจลาจลที่มีผู้เสียชีวิต 5 คน และมีมากกว่า 20000 คนที่หนีจากบ้านของตัวเอง
 
การต่อสู้อันรุนแรงทหารที่สนับสนุนรัฐบาลกับทหารฟาลินติลที่ไม่พอใจได้เกิดขึ้นเมื่อเดือนพฤษภาคม 2549<ref>http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/5012640.stm</ref> แม้ว่าจะยังไม่มีความชัดเจน แรงจูงใจเบื้องหลังการต่อสู้ คาดว่าจะเป็นการกระจายของกองทุนน้ำมัน และการจัดการไม่ดีของกองทัพและตำรวจติมอร์-เลสเต ซึ่งรวมถึงตำรวจอินโดนีเซียเดิมและกบฏติมอร์เดิม นายกรัฐมนตรีมารี อัลกาตีรี ได้เรียกความรุนแรงนี้ว่าเป็นการรัฐประหาร และได้ยอมรับความช่วยเหลือจากกองทัพจากต่างประเทศหลายชาติ<ref>http://www.smh.com.au/news/world/australia-cant-find-timor-leaders/2006/05/25/1148524816847.html</ref><ref>http://www.rte.ie/news/2006/0525/easttimor.html</ref> ณ วันที่ [[25 พฤษภาคม]] พ.ศ. 2549 ประเทศออสเตรเลีย โปรตุเกส นิวซีแลนด์ และมาเลเซียได้ส่งทหารมายังติมอร์-เลสเตเพื่อปราบปรามความไม่สงบ <ref>http://www.iol.co.za/index.php?set_id=1&click_id=3&art_id=qw1148547965206B254</ref><ref>http://www.rte.ie/news/2006/0525/easttimor.html</ref>
 
เมื่อวันที่ [[21 มิถุนายน]] พ.ศ. 2549 ประธานาธิบดีชานานา กุฌเมา ได้ขอร้องอย่างเป็นทางการให้นายกรัฐมนตรี[[มารี อัลกาตีรี]] ลาออก ซึ่งสมาชิกพรรคเฟรตีลินส่วนใหญ่ได้ข้อรองให้นายกรัฐมนตรีลาออก โดยกล่าวหาว่า ได้พูดเท็จเกี่ยวกับการกระจายอาวุธให้พลเรือน<ref>http://www.smh.com.au/news/world/timor-pm-likely-to-resign-tomorrow/2006/06/21/1150845238271.html</ref> เมื่อวันที่ [[26 มิถุนายน]] พ.ศ. 2549 นายกรัฐมนตรีมารี อัลกาตีรี ได้ลาออกโดยกล่าวว่า เป็นไปเพื่อหลีกเลี่ยงการลาออกของประธานาธิบดี<ref>http://www.heraldsun.news.com.au/common/story_page/0,5478,19591368%255E661,00.html</ref> [[ฌูแซ รามุช-ออร์ตา]] ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่เมื่อวันที่ [[8 กรกฎาคม]] พ.ศ. 2549<ref>http://www.abc.net.au/news/newsitems/200607/s1681879.htm</ref>
 
== การปกครอง ==
[[ไฟล์:2017-08-14 Francisco Guterres.jpg|thumb|250px|ฟรังซิชกู กูแตรึช ประธานาธิบดีติมอร์-เลสเตคนปัจจุบัน]]
 
ปัจจุบันประเทศติมอร์-เลสเตมีการปกครองในระบอบ[[ประชาธิปไตย]] แต่ด้วยความที่เป็นประเทศใหม่ ซึ่งต้องเผชิญกับเหตุการณ์สงครามกลางเมือง และการรุกรานจากประเทศอื่น เพื่อให้การดำเนินการในติมอร์ตะวันออกเป็นไปโดยสงบ [[องค์การสหประชาชาติ]]โดยสำนักงานโครงการเพื่อสนับสนุนภารกิจของในติมอร์ตะวันออก (United Nation Mission of Support in East Timor: UNMISET) เป็นหน่วยงานที่คอยให้การสนับสนุนการดำเนินการต่าง ๆ ในติมอร์-เลสเตให้เป็นไปอย่างเรียบร้อย ประเทศติมอร์-เลสเตเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติเมื่อวันที่ [[27 กันยายน]] [[พ.ศ. 2545]]
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
เส้น 145 ⟶ 151:
{{โครง-ส่วน}}
 
การศึกษาของติมอร์เลสเตเป็นไปตามโครงสร้าง 6-3-3 มีระดับการศึกษาตั้งแต่ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและมหาวิทยาลัย ทั้งนี้รัฐได้จัดสวัสดิการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่เยาวชนในระดับประถมศึกษา (EDUCATION POLICY AND DATA CENTER, 2012) วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี
 
=== สาธารณสุข ===
เส้น 154 ⟶ 160:
 
== ประชากร ==
{{โครง-ส่วน}}
<br />
 
=== เชื้อชาติ ===
[[ไฟล์:East Timor hakka wedding.jpg|thumb|right|งานแต่งงานของชาว[[ติมอร์เชื้อสายจีน]][[แคะ]] ปี [[ค.ศ. 2006]]]]
{{โครง-ส่วน}}
ประเทศติมอร์-เลสเตมีประชากรประมาณ 1,040,880 คน โดยประชากรมีความหลากหลายทางด้านชาติพันธุ์
เส้น 184 ⟶ 191:
|[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] || 191 คน || 0.02 %
|-
|อื่นๆอื่น ๆ || 616 คน || 0.08 %
|-
|'''รวม''' || '''741,530 คน''' || '''100.00 %'''