ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาเฉลิมไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
ก่อสร้างในสมัยจอมพล [[แปลก พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรี มีความประสงค์ให้เป็น[[โรงละครแห่งชาติ]]ในเวลานั้น และมีรูปแบบของอาคารกลมกลืนกับอาคารอื่นที่สร้างขึ้นริมถนนราชดำเนินกลาง
 
เดิมเป็นอาคารว่างเปล่าแล้วเป็นโกดังเก็บผ้าของทางราชการ ต่อมาบริษัทศิลป์ไทย (ซึ่งมีนาย[[พิสิฐ ตันสัจจา]] เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นด้วย) ได้ขอเช่าพื้นที่ ริเริ่มปรับปรุงต่อเติมเป็นสถานบันเทิง ออกแบบและควบคุมโดย อาจารย์[[ศิววงศ์ กุญชร ณ อยุธยา]] สถาปนิกชั้นนำของเมืองไทย ใช้งบประมาณถึง 1 ล้านบาท <ref>ธนาทิพย์ ฉัตรภูติ, ตำนานโรงหนัง, สำนักพิมพ์เวลาดี 2547, ISBN 974-9659-11-2: หน้า 56-56–57</ref>
 
เปิดดำเนินการเป็นสถานที่แสดง[[ละครเวที]]อาชีพ ระหว่าง พ.ศ. 2492 - 24962492–96 ก่อนเปลี่ยนเป็น[[โรงภาพยนตร์]]
 
ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ทางโรงภาพยนตร์ได้จัดแสดงละครเวที ''[[พันท้ายนรสิงห์]]'' เป็นการอำลาอาลัยการก่อนปิดตัวถาวร หลังจากนั้นได้ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์ เครื่องฉาย รถขายไอศกรีม ลำโพง ตัวอักษรชื่อโรง พร้อมกับการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่เหลือออกเพื่อสร้างเป็น [[ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์]] ซึ่งเผยให้เห็นทัศนยภาพสง่างามของ [[โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร]] เบื้องหลังได้อย่างเต็มที่
บรรทัด 51:
==ความรุ่งโรจน์และนวัตกรรม==
===โรงละครเวที===
ในอดีตได้ชื่อว่าเป็นโรงมหรสพ ซึ่งผสมผสานความสง่างามแบบโรงละครในยุโรปกับความหรูหราของศิลปะลวดลายไทยอันวิจิตร ทันสมัยยิ่งใหญ่ด้วยเวทีเลื่อนขึ้นลงได้ระบบ[[ไฮดรอลิค]] <ref>ตำนานโรงหนังธนาทิพย์ ฉัตรภูติ, 2547: หน้า 57-57–58</ref> เพียงแห่งเดียวของเมืองไทย สามารถจุผู้ชม 1,500 ที่นั่ง ([[ศาลาเฉลิมนคร]] 800 ที่นั่ง ,[[ศาลาเฉลิมกรุง]] 600 ที่นั่ง) ตั้งแต่ยุคละครเวที หลายเรื่องของคณะอัศวินการละครเป็นตำนานที่มีชื่อเสียง เช่น ''[[พันท้ายนรสิงห์]] ,[[นันทาเทวี]] ,[[บ้านทรายทอง]] ฯลฯ''<ref>อิงคศักดิ์ เกตุหอม, นี่คือชีวิตของดอกดิน หอภาพยนตร์ชาติ(องค์การมหาชน), 2554 ISBN 978-616-543-135-4 หน้า 29-31</ref>
===โรงภาพยนตร์===
เมื่อเข้าสู่ยุคปรับเปลี่ยนเป็นโรงภาพยนตร์ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 ได้ริเริ่มจัดพื้นที่ซึ่งเป็นต้นแบบของวัฒนธรรมร้านข้าวโพดคั่ว (Pop Corn) อย่างโรงหนังต่างประเทศ และร้าน[[ไอศกรีม]] (ป๊อบ "ตราเป็ด" ที่ดังมากในขณะนั้น พร้อมป้าย[[โลโก้]] รูปหน้าโดนัลดั๊ค มองเห็นแต่ไกล)
 
ต้นเดือนเมษายน ปีนั้น เป็นแห่งแรกในเมืองไทยที่ฉายหนังสามมิติ ''ใต้อุ้งมือโจร (Man in the Dark)'' และหนังซีเนมาสโคปเรื่องแรกของโลก ''อภินิหารเสื้อคลุม (The Robe)'' เข้าฉายในวันสิ้นปี <ref>ตำนานโรงหนังธนาทิพย์ ฉัตรภูติ, 2547: หน้า 60-60–61</ref>
 
พ.ศ. 2498 เป็นสถานที่ฉายเฉพาะกิจสำหรับหนังการ์ตูนไทยเรื่องแรก (16 มม./พากย์) ''เหตุมหัศจรรย์'' ของ [[ปยุต เงากระจ่าง]] (ซึ่งเพิ่งขึ้นทะเบียนเป็นมรดกชาติปี พ.ศ. 2555)<ref>จุลสารทะเบียนมรดกภาพยนตร์ของชาติ ครั้งที่ 2,2555</ref>และหนังทุนสูง (16 มม./พากย์) ''[[นเรศวรมหาราช]]'' ของอัศวินภาพยนตร์ ในช่วงต้นทศวรรษ 2500
 
หลังจากนั้นเป็นผู้นำความแปลกใหม่มาเสนออย่างต่อเนื่อง ได้แก่ หนังเพลงระบบ[[ทอดด์-เอโอ]] เสียงสเตอริโอโฟนิคสมบูรณ์แบบครั้งแรกของฮอลลีวู้ด ''[[มนต์รักทะเลใต้]] (South Pacific)'' ,หนังการ์ตูน ระบบซูเปอร์เทคนิรามา 70 มม.เรื่องแรกของโลก ''[[เจ้าหญิงนิทรา]] (Sleeping Beauty)'' ,หนังมหากาพย์สงครามโลก 34 ดาราสากล ''[[วันผด็จศึก]] (The Longest Day)'' ,หนังซีเนราม่า 3 เครื่องฉาย ''พิชิตตะวันตก (How the West Was Won)'' ,หนังมหากาพย์ทุนมโหฬารตลอดกาล ''[[คลีโอพัตรา]] (Cleopatra)'' ซึ่งโปรแกรมนี้เป็นครั้งแรกของโรงหนังเมืองไทยที่ติดตั้งลิฟท์บริการผู้ชมชั้นบนด้วย<ref>ข่าวบันเทิง หน้า 13 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ,พ.ศ. 2506</ref> และหนังเด่นอีกหลายเรื่อง เช่น ''[[บุษบาริมทาง (ภาพยนตร์)|บุษบาริมทาง (My Fair Lady)]] , [[ดร.ชิวาโก]] (Dr.Zhivago)'' รวมทั้งหนังซีเนมาสโคปเรื่องแรกของอัศวินภาพยนตร์ -ชอว์บราเดอร์ส รางวัลตุ๊กตาทอง (มรดกชาติปี พ.ศ. 2555) ''[[เรือนแพ]] ''<ref>จุลสารทะเบียนมรดกภาพยนตร์</ref> ที่ยังกลับมาฉายซ้ำอีก 2-2–3 ครั้ง เป็นต้น
 
==วันมหาวิปโยค 14 ตุลา==
มีบทบาทสำคัญในช่วงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ [[14 ตุลาคม]] พ.ศ. 2516 เป็นทั้งที่หลบภัยและโรงพยาบาลของคนเจ็บจากการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตย <ref>ตำนานโรงหนังธนาทิพย์ ฉัตรภูติ, 2547: หน้า 61</ref>
 
== อ้างอิง ==
;บรรณานุกรม
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://www.wikimapia.org/#y=13755585&x=100504619&z=18&l=0&m=a}}
*{{cite book| title=ตำนานโรงหนัง|first= ธนาทิพย์ |last=ฉัตรภูติ|publisher=เวลาดี|year=2547|isbn=974-9659-11-2}}
;รายการอ้างอิง
{{รายการอ้างอิง}}
 
เส้น 71 ⟶ 73:
* [[ศาลาเฉลิมกรุง]]
* ศ.ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์, '''นาฎยศิลป์รัชกาลที่ 9''', สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2549.
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://www.wikimapia.org/#y=13755585&x=100504619&z=18&l=0&m=a}}
 
{{coord|13.7556843|100.5046892|display=title}}