ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 85:
ในปี พ.ศ. 2443 ขณะเมื่ออายุ 19 ปี ท่านได้แสดงฝีมือเดี่ยวระนาดเอกถวาย[[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] เป็นที่ต้องพระทัยมาก จึงทรงรับตัวเข้ามาไว้ที่[[วังบูรพาภิรมย์]] ทำหน้าที่คนระนาดจัตวาประจำ ต่อมาวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2468 นายศร ศิลปบรรเลง ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น''หลวงประดิษฐ มนูธรรม'' มีราชการในกรมมหรสพ ถือศักดินา 400<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/D/1033.PDF พระราชทานบรรดาศักดิ์], เล่ม 42, ตอน 0 ง, 5 กรกฎาคม 2468, หน้า 1033</ref> เข้ารับพระราชทานสัญญาบัตรเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ณ พระที่นั่งบรมพิมาน<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/D/1151_1.PDF พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์], เล่ม 42, ตอน 0 ง, 19 กรกฎาคม 2468, หน้า 1151-2</ref> แล้วได้รับพระราชทานยศเป็น ''หุ้มแพร'' ในวันที่ 13 กรกฎาคม ศกเดียวกัน<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/D/1152.PDF พระราชทานยศ], เล่ม 42, ตอน 0 ง, 19 กรกฎาคม 2468, หน้า 1152</ref> ทั้งนี้ท่านไม่เคยรับราชการอยู่ในกรมกองใดมาก่อน แต่เพราะฝีมือและความสามารถของท่านเป็นที่ต้องพระหฤทัยนั่นเอง
 
ครั้นถึงปี พ.ศ. 2469 ท่านได้เข้ารับราชการในกรมปากมากย์และโขนพีระพล [[กระทรวงวัง]] ท่านได้มีส่วนถวายการสอนโดนตีให้กับ[[พระบาทสมเด็จพระปากปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] รวมทั้งมีส่วนช่วยงานพระราชนิพนธ์เพลงสามเพลง คือ เพลงราตรีประดับดาวเถา เพลงเขมรละออองค์เถา และ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง สามชั้น
 
หลวงประดิษฐไพเราะถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2497]] รวมอายุ 73 ปี