ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 51:
</ref> ช่างภาพชาว[[อังกฤษ]]ที่เดินทางเข้ามาถ่ายพระบรมฉายาลักษณ์ [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์]] ขณะทรงพระเยาว์ และพระฉายาลักษณ์ของพระบรมวงศานุวงศ์
 
ภาพถ่ายฝีมือนายจิตร มีลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์ คือ ภาพมีสีเหลืองหรือน้ำตาล ดูไม่คมชัด เนื่องจากน้ำยาอัดรูป ต่างจากภาพของช่างภาพร่วมสมัย เช่นภาพของนายจอห์น ทอมสัน ซึ่งมีลักษณะสีเข้ม คมชัด ผลงานถ่ายภาพของนายจิตร มีทั้งพระบรมฉายาลักษณ์ พระฉายาลักษณ์ ภาพถ่ายของขุนนาง ข้าราชการ วัด วัง บ้านเรือน และภาพเหตุการณ์สำคัญต่างๆ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่ห้องบุรฉัตร ชั้น 2 [[สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ|กองจดหมายเหตุแห่งชาติ]] <ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร
|ชื่อหนังสือ=๑๐๐ ปีภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในงานพระพุทธชินราชประจำปี วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม รัตนโกสินทรศก ๑๒๓
บรรทัด 63:
</ref>
 
ในช่วงต้นรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ห้องภาพฟรานซิศจิตรแอนด์ซัน เป็นร้านถ่ายรูปหลวงประจำราชสำนัก ได้รับพระราชทานตราตั้ง และลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์[[บางกอกรีคอร์เดอร์คอเดอ]] จดหมายเหตุสยามไสมย บางกอกไตมส์ และเดอะสยามเมอร์แคนไตล์กาเซท์ <ref name="sarakadee"/>
 
ด้านการรับราชการ นายจิตรเริ่มรับราชการเป็นมหาดเล็กหลวงอยู่เวรชิตภูบาลใน[[พระราชวังบวรสถานมงคล]]สมัย[[รัชกาลที่ 4]] ได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 5 ตำลึง ต่อมาเมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จสวรรคต จึงสมทบลงมารับราชการอยู่ใน[[พระบรมมหาราชวัง]]<ref name="ราชกิจจา" /> ใน[[รัชกาลที่ 5]] ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น ขุนสุนทรสาทิศลักษณ์ <ref>สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงบันทึกใน จดหมายเหตุแลนิราศลอนดอน ว่า "ขุนฉายาทิศลักษณ"</ref> ตำแหน่งช่างถ่ายรูปขึ้นกรมแสง รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 1 ชั่ง 5 ตำลึง และได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์และตำแหน่งเป็น หลวงอัคนีนฤมิตร เจ้ากรมหุงลมประทีป ในปี พ.ศ. 2423 รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 1 ชั่ง 10 ตำลึง<ref name="ราชกิจจา" />