ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิงโจ้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แทนที่เนื้อหาด้วย "หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศออสเตรเลีย หมวดหมู่:..."
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น}}
 
{{Taxobox
| color = pink
| name = จิงโจ้
| image = Kangaroo and joey03.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = จิงโจ้ตัวเมียและลูกในกระเป๋าหน้าท้อง
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| classis = [[Mammal]]ia
| subclassis = [[Marsupialia]]
| ordo = [[Diprotodontia]]
| subordo = [[Macropodiformes]]
| familia = [[Macropodidae]]
| genus = ''[[Macropus]]''
| subdivision_ranks = [[Species|ชนิด]]
| subdivision =
*''[[Macropus rufus]]''<br />
*''[[Macropus giganteus]]''<br />
*''[[Macropus fuliginosus]]''<br />
*''[[Macropus antilopinus]]''
}}
 
'''จิงโจ้''' ({{lang-en|Kangaroo}}) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ประเภท[[สัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง]]ใน[[ตัวเมีย]]สำหรับแพร่ขยายพันธุ์และเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ตัวอ่อน|ลูกอ่อน]] นับเป็นสัตว์ในประเภทนี้ที่มีขนาดใหญ่ และเป็นสัตว์ประจำท้องถิ่นของ[[ออสเตรเลีย]]
 
จิงโจ้นั้นจัดออกได้เป็นหลากหลายประเภท ในหลาย[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]], หลาย[[genus|สกุล]] แต่ทั้งหมดจัดอยู่ในอันดับ [[Macropodiformes]] หรือที่เรียกใน[[ชื่อสามัญ]]ว่า "แมคโครพอด" (Macropod) ที่หมายถึง "ตีนใหญ่" แต่ทั้งหมดก็มีรูปร่างคล้ายกัน (แต่โดยปกติแล้ว จิงโจ้จะหมายถึงแมคโครพอดที่อยู่ในสกุล ''[[Macropus]]'') คือ มีขาหลังที่ยาวแข็งแกร่ง ทรงพลัง ใช้ในการกระโดด และมีส่วนหางที่แข็งแรง ใช้ในการทรงตัว และใช้ในการกระโดด <ref name="aus"/>
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
ลูกอีนก
 
==ลักษณะ==
[[ไฟล์:RedRoo.JPG|thumb|left|250px|จิงโจ้แดงตัวผู้ในสวนสัตว์ ]]
จิงโจ้มีขนาดที่หลากหลาย ตั้งแต่มีลำตัวสูงแค่ 30-45 เซนติเมตร จนถึง 6 ฟุต น้ำหนักกว่า 1.5 ปอนด์ <ref>http://animal-of-the-world.blogspot.com/2009/08/blog-post_7217.html</ref> ลักษณะขางอเป็นรูป ตัว L กลับตัว<ref>http://www.thaigoodview.com/node/4242</ref> มีเท้าแบบคน ทำให้ไม่มีกำลังขาในการแตะ จากศัตรู และไม่สามารถเดินถอยหลังได้<ref>http://www.ryt9.com/s/prg/790704</ref>
 
การที่จิงโจ้ต้องมีขาหลังใช้ในการกระโดด เชื่อว่าเป็นผลมาจากการ[[วิวัฒนาการ]]หรือ[[การกลายพันธุ์]]ให้เหมาะสำหรับสภาพแวดล้อมที่อาศัยที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพภูมิอากาศของ[[ทวีปออสเตรเลีย]] อันเป็นถิ่นที่อยู่อาศัย จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์พบว่า การกระโดดนั้นให้ผลในการเดินทางได้ดีกว่าวิ่งเหยาะ ๆ
 
การที่จิงโจ้กระโดดแต่ละครั้งนั้น จะเริ่มจากนิ้วตีน และได้รับแรงส่งจากกล้ามเนื้อน่องที่แข็งแรง [[เอ็นร้อยหวาย]]ก็ยืดอย่างเต็มที่ ขณะที่ส่วนหางก็ใช้ในการรักษาสมดุล<ref name="aus">''Australia''. "Mutant Planet" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: เสาร์ที่ 29 ธันวาคม 2555</ref>
 
==ศัพท์มูลวิทยา==
คำว่าจิงโจ้ในภาษาไทย ยังไม่ทราบที่มาที่ไปของศัพท์คำนี้ แต่ในชื่อภาษาอังกฤษที่ว่า "Kangaroo" (/แคง-กา-รู/) นั้นมีที่มาจาก เมื่อชาวตะวันตกมีการค้นพบทวีปออสเตรเลียเป็นครั้งแรก ได้พบเห็นจิงโจ้กระโดดไปมามากมาย และมีขน ด้วยไม่รู้ว่าคือสัตว์อะไร จึงถามชาวอะบอริจินส์ ซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองของออสเตรเลียด้วยภาษาของตน แต่ชาวอะบอริจินส์รับฟังไม่ออก จึงกล่าวว่า "Kangaroo" ซึ่งแปลว่า "ฉันไม่เข้าใจ" อันเป็นที่มาของชื่อสามัญของจิงโจ้ในภาษาอังกฤษ<ref>[http://knowledge.truelife.com/content/detail/700873 แกงการู ไม่ได้แปลว่า จิงโจ้]</ref>
 
==วิวัฒนาการ==
จิงโจ้นั้นวิวัฒนาการเมื่อกว่า 45 ล้านปีก่อนมาจากสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างคล้ายหนู ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังอาศัยอยู่ในแถบตะวันตกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย เรียกว่า "[[Bettongia penicillata|จิงโจ้หนูวูยลีย์]]" แม้ไม่สามารถกระโดดได้ แต่ก็มีขาหลังที่ใหญ่ และสามารถนั่งพักบนหางตัวเองได้เหมือนเช่นจิงโจ้ในปัจจุบัน
 
ต่อมา 7 ล้านปีก่อน [[วอลลาบี]] หรือจิงโจ้แคระก็ได้กำเนิดขึ้นมา ซึ่งบางชนิดก็ได้วิวัฒนาการตัวเองให้เหมาะสมแก่การปีนป่ายอาศัยอยู่ตามโขดหินผาต่าง ๆ และ 5 ล้านปีต่อมา [[จิงโจ้สีเทา]] นับเป็นจิงโจ้ชนิดแรกที่ถือกำเนิดขึ้นมา และ 1 ล้านปีต่อมา จิงโจ้แดง ซึ่งเป็นจิงโจ้และสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องชนิดที่ใหญ่ที่สุดก็ถือกำเนิดขึ้นมา<ref name="aus"/>
 
==อาหาร==
จิงโจ้เป็นสัตว์กินพืชเป็นหลัก เช่น [[หญ้า]] และกินแมลงบางชนิดเพื่อเพิ่มโปรตีนให้กล้ามเนื้อด้วย
 
==การจำแนก==
[[ไฟล์:Kangur.rudy.drs.jpg|thumb|จิงโจ้แดง (''Macropus rufus'')]]
เฉพาะจิงโจ้ที่อยู่ในสกุล ''Macropus'' มีทั้งหมด 4 [[species|ชนิด]] ได้แก่
*''[[Macropus rufus]]'' (จิงโจ้แดง)
*''[[Macropus giganteus]]'' (จิงโจ้เทาตะวันออก)
*''[[Macropus fuliginosus]]'' (จิงโจ้เทาตะวันตก)
*''[[Macropus antilopinus]]'' (จิงโจ้แอนทีโลไพน์)
 
==การขยายพันธุ์==
[[ไฟล์:Joey in pouch.jpg|thumb|200px|left|ลูกจิงโจ้แรกเกิดที่ยังไม่มีขน และต้องคลานไปยังเต้านมแม่เพื่อดูดนม เรียกกันว่า "โจอี้" (Joey)]]
การขยายพันธุ์ของจิงโจ้ นั้นเป็นการเลี้ยงตัวอ่อนด้วยน้ำนม โดนการตั้งท้องประมาณ 30-45 วัน หลังจากนั้น ตัวอ่อนที่ยังไม่มีขนจะคลานมาจนถึงกระเป๋าหน้าท้องแล้วเลี้ยงตัวเองด้วยน้ำนมจนโตประมาณ 1 ปี ถึงจะออกจากกระเป๋าหน้าท้อง
 
แม้จะมีลูกได้ครั้งละ 1 ตัว แต่จิงโจ้สามารถที่จะมีลูกได้มากกว่า 1 ตัว ในถุงหน้าท้อง โดยลูกจิงโจ้แต่ละตัวจะมีขนาดไม่เท่ากัน เพราะเกิดในช่วงเวลาที่ต่างกัน หรือแม้กระทั่งมีตัวอ่อนในตัวของแม่จิงโจ้ ขณะที่ลูกจิงโจ้แรกคลอดยังคงคลานไปดูดนมอยู่ก็มี จิงโจ้จะมีเต้านมทั้งหมด 4 เต้า 2 เต้าแรกมีความยาวไว้สำหรับลูกจิงโจ้วัยอ่อนใช้ดูดกิน น้ำนมในส่วนนี้ มีคาร์โบไฮเดรตสูง ไขมันต่ำ ขณะที่อีก 2 เต้าจะมีขนาดสั้น ไว้สำหรับลูกจิงโจ้ที่โตแล้วดูดกิน มีคาร์โบไฮเดรตต่ำ ไขมันสูง ขณะที่แม่จิงโจ้มีลูกวัยอ่อน ตัวอ่อนที่ยังไม่คลอดออกมา จะหยุดพัฒนาการเพื่อรอให้ลูกจิงโจ้วัยอ่อนนั้นเติบโตขึ้นมา แล้วจึงมาแทนที่ จิงโจ้จึงเป็นสัตว์ที่ผสมพันธุ์และแพร่ขยายพันธุ์ได้ตลอดเวลา ขณะที่ลูกจิงโจ้โตพอที่จะออกมาอยู่ข้างนอกได้แล้ว และในถุงหน้าท้องมีลูกจิงโจ้อีกตัวที่ยังอาศัยอยู่ แม่จิงโจ้จะไล่ให้ลูกตัวที่โตกว่าไม่ให้เข้ามา อาจจะให้แค่โผล่หัวเข้าไปดูดนม ซึ่งเวลานี้ลูกจิงโจ้ก็ถึงวัยจะที่กินหญ้าเองได้แล้ว แต่ก็มีถึงร้อยละ 80 ที่ลูกจิงโจ้จะตายลงเมื่ออายุได้ 2 ปี เนื่องจากสภาพอากาศที่แห้งแล้ง<ref name="aus"/>
 
==ดูเพิ่ม==
*[[วอลลาบี]]
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คอมมอนส์|kangaroo}}
 
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศออสเตรเลีย]]
[[หมวดหมู่:สัตว์แบ่งตามชื่อสามัญ]]
[[หมวดหมู่:แมคโครพอด ]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ในประเทศออสเตรเลีย]]
<br />
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/จิงโจ้"