ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคปุรัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
ในอดีต โคปุรัม ไม่นิยมสร้างให้ใหญ่โตเหมือนในปัจจุบัน<ref name=ching2>{{cite book| first=Francis D.K.| last= Ching| year= 2007| title= A Global History of Architecture| edition=| publisher=John Wiley and Sons| location=New York| isbn= 0-471-26892-5| page= 762|display-authors=etal}}</ref> ต่อมาจึงนิยมสร้างให้มีขนาดใหญ่และส่วนใหญ่นิยมสร้างโคปุรัมล้อมรั้วของเทวสถานด้วยซ้ำ ด้านบนสุดของโคปุรัมคือหินทรงบัลบัสที่เรียกว่า[[กลสัม]] (kalasam)<ref name=ching>{{cite book| first=Francis D.K.| last= Ching| year= 1995| title= A Visual Dictionary of Architecture| edition=| publisher=John Wiley and Sons| location=New York| isbn= 0-471-28451-3| page= 253}}</ref> สิ่งก่อสร้างลักษณะเดียวกับโคปุรัมตรงกลางของเทวสถานเรียกว่า [[วิมาน (ลักษณะทางสถาปัตยกรรม)|วิมาน]] (vimana) ทั้งคู่สร้างและออกแบบตามกฏที่บัญญัติไว้ใน[[วาสตุศาสตระ]] (Vaastu Shastra) คัมภีร์ของฮินดูว่าด้วยการก่อสร้างและการออกแบบสถาปัตยกรรมที่คล้ายกับการวาง[[ฮวงจุ้ย]]ของจีน<ref name="Ananth">{{cite book |last1=Ananth |first1=Sashikala |title=Penguin Guide to Vaastu: The Classical Indian Science of Architecture and Design |date=1 January 2000 |publisher=Penguin |location=Mumbai |isbn=014027863X |edition=2 |accessdate=20 September 2018}}</ref>
[[File:Simplified schema of a Hindu temple.jpg|thumb|ภาพกราฟิกแสดงอาคารต่าง ๆ ใน[[โบสถ์พราหมณ์]]อย่างง่าย โคปุรัมคือโครงสร้างสีแดงเลือดหมู]]
นักโบราณคดีเชื่อว่าโคปุรัมได้รับอิทธิพลจากยุค[[ปัลลวะ]]และโครงสร้างที่เรียกว่าหอ[[สิกขรา]]ในสถาปัตยกรรมแบบ[[อินเดียเหนือ]] ซึ่งราวปีคริสตศักราช 12–16{{what}} 12–16 เทวสถานฮินดูกลายเป็นศูนย์รวมของชุมชน ซุ้มทางเข้าจึงกลายเป็นส่วนสำคัญของเทวสถานฮินดู การสร้างซุ้มประตูทางเข้าให้งดงามและโอ่อ่าจึงทำให้เกิดการส้รางโคปุรัมขึ้น จนในที่สุดโคปุรัมบดบังลักษณะของวิหารภายใน<ref name=mitchell>{{cite book| last = Michell
| first =George| url =https://books.google.com/books?id=ajgImLs62gwC | title = The Hindu Temple| publisher =University of Chicago Press| year =1988| location =Chicago| pages = 151&ndash;153| doi =| id =| isbn = 0-226-53230-5}}</ref> บางครั้งโคปุรัมก็เป็นเทวาลัยในตนเองด้วย บางเทวสถานจึงมีโคปุรัมมากกว่าหนึ่งแห่ง<ref name=britgopuram>{{cite web|year=|url=http://www.britannica.com/eb/article-9037402/gopura|title=gopura|publisher=Encyclopædia Britannica|accessdate=2008-01-20}}</ref> โคปุรัมแพร่หลายไปพร้อมกับอิทธิพลของฮินดู ดังที่ปรากฏใน[[สถาปัตยกรรมเขมร]] เช่น [[ปราสาทหิน]]ต่าง ๆ ที่พบในประเทศกัมพูชาและไทย