ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะไอออนิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Texvc2LaTeXBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ไวยากรณ์คณิตศาสตร์ที่เลิกใช้แล้วตาม mw:Extension:Math/Roadmap
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
== นิยาม ==
[[ไฟล์:Ionic_bonding.png|thumb|right|200px|[[การจัดเรียงอิเล็กตรอน]] ของ [[ลิเทียม]] และ [[ฟลูออรีน]] ลิเทียมมีอิเล็กตรอน 1 ตัวในวงโคจรชั้นนอกสุดของมันซึ่งอยู่อย่างหลวมๆ เพราะว่า [[พลังงานไอออไนเซชัน]] ต่ำ ฟลูออรีนมีอิเล็กตรอน 7 ตัวในวงโคจรชั้นนอกสุด เมื่ออิเล็กตรอน 1 ตัว เคลื่อนที่จากลิเทียมไปยังฟลูออรีน แต่ละ [[ไอออน]] จะจัดเรียงตัวกันแบบ [[ก๊าซมีตระกูล]] พลังงานพันธะจาก [[แรงดึงดูดไฟฟ้าสถิต]] ของสองประจุไออนที่ตรงข้ามกันมีค่าเป็นลบมากพอ เนื่องจากการที่พลังงานในสถานะที่เป็นพันธะโดยรวมต่ำกว่าสถานะที่ไม่เป็นพันธะ]]
IUPAC นิยามพันธะไอออนิกว่าเป็น "พันธะระหว่างอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีต่างกันอย่างมาก" ในที่นี้ พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้าสถิตที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้าของ[[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]] ซึ่งแตกต่างเปรียบเทียบกับ[[พันธะโคเวเลนต์]]อย่างแท้จริง ในทางปฏิบัติ เรามักจะพิจารณาค่าความเป็นไอออนิกของพันธะ กของพันธะมากกว่าที่จะบอกว่าเป็น[[พันธะไอออนิก]]หรือ[[พันธะโคเวเลนต์]]อย่างแท้จริง
 
== ค่าความเป็นไอออนิก ==