ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บอระเพ็ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
มีสรรพคุณ เถา เป็นยาแก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้กระหายน้ำ แก้ร้อนใน ใบ แก้รำมะนาด ปวดฟัน แก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง ดับพิษปวดแสบปวดร้อน ฆ่าแมลงที่หู บำรุงน้ำดี ฆ่าพยาธิไส้เดือน ผล แก้ไข้ แก้เสมหะเป็นพิษ ราก แก้ไข้ขึ้นสูงที่มีอาการเพ้อคลั่ง ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ เจริญอาหาร แก้[[มะเร็งเม็ดเลือด]] แก้[[ท้องเฟ้อ]] มดลูกเสีย กินทุกวันทำให้ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นหวัด ในขณะเดียวกันมีผลข้างเคียงได้ การรับประทานต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน อาจมีผลต่อหัวใจ เพราะเป็นยารสขม
 
ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประเปรัก ประเทศมาเลเซีย ใช้กิ่งบรเพชรนำไปต้มใช้รักษาโรคเบาหวาน<ref>Samuel, A.J.S.J., Kalusalingam, A., Chellappan, D.K., Gopinath, R., Radhamani, S., Husain, H. A., Muruganandham, V., Promwichit, P. 2010. Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong, Perak, West Malaysia. ''Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine''. 6:5</ref> ในตำรายา บางครั้งเรียกโหราอมฤต ภาษาสันสกฤตเรียกอัมชิตา ใช้เป็นยาแก้ไข้ [[ดีซ่าน]] [[ซิฟิลิส]]<ref>ชยันต์ พิเชียรสุนทร ศุภชัย ติยวรนันท์ และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 6 เภสัชกรรม. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2555. หน้า 194 - 195</ref>
 
== อ้างอิง ==