ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนางศุภยาลัต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
วันที่ [[17 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2428]] อังกฤษก็เริ่มส่งข้อเรียกร้องขั้นเด็ดขาด และพม่ายอมไม่ได้ เช่น ให้อังกฤษเป็นคนควบคุมนโยบายการค้าการเดินเรือของพม่าทั้งหมดฯลฯ มิฉะนั้นจะรบกับพม่า ซึ่งขณะนั้นอังกฤษได้ยึดพม่าได้ทางใต้ได้แล้วจาก[[สนธิสัญญายันดาโบ]]
 
พระเจ้าธีบอตามพระทัยมเหสีจึงสั่งให้เตรียมพลไปรบ อังกฤษก็ให้นายพลแฮร์รี เพนเดอร์กาส นำทหารทั้งฝรั่งและอินเดียเคลื่อนพลเข้ารบ จาก[[ย่างกุ้ง]]บุกไปตาม[[แม่น้ำอิรวดี|ลำน้ำอิรวดี]]ถึง[[มัณฑะเลย์]] ใช้เวลาแค่ 14 วันก็ยึดเมืองหลวงได้ นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่า นอกเหนือจากอาวุธที่ดีกว่าอย่างเทียบไม่ติด แต่เหตุผลสำคัญที่สุดคือราษฎรไม่คิดจะต่อสู้เพราะไม่รู้จะสู้ไปเพื่ออะไร เนื่องจากรัฐบาลของพระเจ้าธีบอโดยพระนางศุภยาลัต กดขี่พวกเขามาตลอด บ้านเมืองจึงขาดความสามัคคีขนาดหนัก เนื่องจากกษัตริย์และมเหสีไม่เคยทำตนให้เป็นที่รักของประชาชนพม่าของพระองค์เอง พระเจ้าธีบอ และพระนางศุภยาลัตจึงถูกเชิญให้ไปยังเมือง[[รัตนคีรี]] ซึ่งเป็นการสิ้นสุดเอกราชของพม่า และการปกครองโดย[[ราชวงศ์คองบโก้นบอง|ราชวงศ์อลองพญา]]ที่มีอย่างยาวนาน
[[ไฟล์:Four daughters of King Thibaw.png|thumb|left|พระราชธิดาทั้งสี่ของ[[พระเจ้าธีบอ]]และพระนางศุภยาลัต จากซ้าย: พระราชธิดาองค์ที่สี่ เจ้าหญิงเมียะพยากเล, พระราชธิดาองค์ที่หนึ่ง เจ้าหญิงเมียะพยาจี, พระราชธิดาองค์ที่สาม เจ้าหญิงเมียะพยา และพระราชธิดาองค์ที่สอง เจ้าหญิงเมียะพยาลัต หรือ [[เจ้าหญิงมยะพะยาละ]] ภาพจาก Myanmar Historical Archive]]
[[ไฟล์:Thibaw_Boat.jpg|thumb|right|250px|บรรยากาศท่าเรือขณะคุมตัวกษัตริย์พม่า]]
บรรทัด 81:
{{เรียงลำดับ|ศุภยาลัต}}
{{อายุขัย|2402|2468}}
[[หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โกนบองโก้นบอง]]
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งพม่า]]