ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์โก้นบอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขไวยากรณ์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox Former Country
|native_name = {{my|ကုန်းဘောင်ခေတ်}}
|conventional_long_name = ราชวงศ์โกนบองโก้นบอง
|common_name = ราชวงศ์โกนบองโก้นบอง
|continent = เอเชีย
|region = เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
บรรทัด 27:
|p2 = อาณาจักรหงสาวดีใหม่
|flag_p2 =
|p3 = อาณาจักรมเยาะอูอู้
|flag_p3 =
|s1 = บริติชราช
บรรทัด 41:
|symbol_type =
|image_map_caption =
|capital = [[ชเวโบ]] (1752–1760) <br />[[สะกายซะไกง์]] (1760–1765)<br />[[อังวะ]] (1765–1783, 1821–1842)<br />[[อมรปุระ]] (1783–1821, 1842–1859)<br />[[มัณฑะเลย์]] (1859–1885)
|common_languages = [[ภาษาพม่า]]
|religion = พุทธศาสนา[[เถรวาท]]
บรรทัด 65:
{{มีอักษรพม่า}}
{{ประวัติศาสตร์พม่า}}
'''ราชวงศ์โกนบองโก้นบอง''' ({{lang-my|ကုန်းဘောင်ခေတ်<!--UNICODE ONLY, NO ZAWGYI-->}}, {{IPA-my|kóʊɴbàʊɴ kʰɪʔ|pron}}; {{lang-en|Konbaung Dynasty}}) หรือเดิมเรียกว่า '''ราชวงศ์อลองพญา''' หรือและที่ในไทยเรียกว่า '''ราชวงศ์คองบอง''' เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์[[พม่า]] และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของ[[สหราชอาณาจักร]] และสิ้นสุดการปกครองระบอบ[[ราชาธิปไตย]]ของพม่า
 
ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของ[[พระเจ้าอลองพญา]]ในปี พ.ศ. 2295 พระองค์ขับไล่ชาวมอญและยึดครองอาณาจักรมอญได้อีกครั้งในปี พ.ศ. 2302 ภายหลังการล่มสลายของ[[ราชวงศ์ตองอู]] ทั้งยังสามารถกลับเข้ายึดครองเมือง[[มณีปุระ]]ได้ในช่วงเวลาเดียวกัน ทรงสถาปนาเมือง[[ชเวโบ]]ขึ้นเป็นราชธานี ก่อนจะย้ายไปที่[[อังวะ]]และทรงพัฒนาเมือง[[ย่างกุ้ง]] หมู่บ้านชาวประมงเล็กๆเล็ก ๆ ขึ้นเป็นเมืองท่าสำคัญ
 
ต่อมาพระเจ้าอลองพญาได้ทรงนำทัพบุก[[อาณาจักรอยุธยา]] เนื่องจากทางอยุธยาได้ให้การสนับสนุนมอญที่ลี้ภัยสงครามเข้ามาพึ่งกษัตริย์ไทย ซึ่งตรงกับรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ]]และไม่พอใจที่อยุธยายึดเรือสินค้าที่จะเดินทางมาค้าขายกับพม่าที่เมือง[[มะริด]] โดยเดินทัพเข้ามาทาง[[ด่านสิงขร]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จและสิ้นพระชนม์หลังจากการทำสงครามครั้งนั้น [[พระเจ้ามังระ]]ผู้เป็นพระราชโอรสของพระองค์ได้สืบทอดเจตนารมณ์ของพระราชบิดาต่อ โดยได้ส่งทัพใหญ่มา 2 ทางล้อมกรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. 2307 ทางหนึ่งให้[[เนเมียวสีหบดี]]นำพลเข้ามาทางเหนือด้วยการตี[[ล้านนา]] [[ล้านช้าง]]และหัวเมืองเหนือก่อน และอีกทางหนึ่งให้มังมหานรธานำกองทัพเข้ามาทางใต้ ทั้ง 2 ทัพเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยาไว้นานถึง 1 ปีครึ่งแม้ผ่านฤดูน้ำหลากก็ไม่ยกทัพกลับ ภายหลังแม่ทัพฝ่ายใต้ คือ มังมหานรธา เสียชีวิตลงก็ส่งแม่ทัพคนใหม่จากเมือง[[เมาะตะมะ]]ชื่อ เมงเยเมงละอูสะนา เข้ามาทำหน้าที่แทนจนในที่สุดก็สามารถตีกรุงศรีอยุธยาแตกได้ในปี พ.ศ. 2310 แต่กองทัพพม่าก็อยู่ได้ไม่นานเนื่องจาก[[พระเจ้ามังระ]]ทรงให้เร่งทำการและรีบกลับเพื่อทำ[[สงครามจีน-พม่า|สงครามกับจีน]]ในรัชสมัยของ[[จักรพรรดิเฉียนหลง]]
บรรทัด 73:
ถึงแม้อาณาจักรอยุธยาจะถูกทำลายแต่[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ก็ทรงสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาใหม่ที่[[กรุงธนบุรี]] พระเจ้ามังระจึงทรงส่งแม่ทัพคนใหม่มา คือ [[อะแซหวุ่นกี้]] นำทัพใหญ่เข้ามาปราบปรามฝ่ายธนบุรีในปี พ.ศ. 2318 อะแซหวุ่นกี้สามารถตีหัวเมือง[[พิษณุโลก]]แตกและกำลังจะยกทัพตามลงมาตาม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] แต่ก็ต้องยกทัพกลับเนื่องจากการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้ามังระในปี พ.ศ. 2319 จากนั้นก็เกิดการแย่งชิงราชสมบัติราว 4–5 ปี ก่อนที่จะกลับมามีความมั่นคงขึ้นอีกครั้งในรัชสมัยของ[[พระเจ้าปดุง]] พระองค์ทรงยกทัพเข้าตีดินแดน[[ยะไข่]]ได้สำเร็จ ซึ่งไม่เคยมีกษัตริย์พม่าพระองค์ใดทำได้มาก่อน ทำให้พระองค์เกิดความฮึกเหิม ยกกองทัพใหญ่มา 9 ทัพ 5 เส้นทาง ที่เรียกว่า [[สงครามเก้าทัพ]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จ
 
ในรัชสมัย[[พระเจ้าจักกายแมง]] พม่าได้ยึดครอง[[แคว้นอัสสัม]]ของ[[อินเดีย]]ได้สำเร็จ ทำให้พม่าต้องเผชิญหน้ากับ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]ซึ่งกำลังล่าอาณานิคมอยู่ในขณะนั้น ก่อให้เกิดเป็นสงครามที่เรียกว่า "[[สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่ง]]" กินระยะเวลา 2 ปี คือ พ.ศ. 2367–692369 สงครามจบลงด้วยชัยชนะของอังกฤษด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ที่เหนือกว่า มหาบัณฑุละ แม่ทัพพม่าที่เลื่องชื่อก็เสียชีวิตลง ทำให้ต้องลงนามในสนธิสัญญาชื่อ สนธิสัญญายันดายานดะโบ (Yandabo) พม่าจำต้องยกเมืองที่สำคัญให้แก่อังกฤษ เช่น มณีปุระ [[ยะไข่]] [[ตะนาวศรี]]
 
ต่อมาได้มีการละเมิดสนธิสัญญาฉบับนี้ทำให้เกิด[[สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง]]และจบลงด้วยชัยชนะของอังกฤษ ในรัชสมัยของ[[พระเจ้ามินดง]]พระองค์พยายามที่จะฟื้นฟูความเข้มแข็งของอาณาจักรขึ้นมาอีกครั้ง โดยสถาปนา[[มัณฑะเลย์]]ขึ้นเป็นราชธานีมีการสร้างพระราชวังอย่างใหญ่โต แต่ในรัชสมัยของพระโอรสของพระองค์ คือ [[พระเจ้าสีป่อ]] พระองค์ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ทั้งในและนอกประเทศไว้ได้ทำให้นำไปสู่การทำสงครามกับอังกฤษอีกครั้ง และครั้งนี้อังกฤษสามารถครอบครองพม่าไว้ได้หมดทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2428 ทำให้พระเจ้าสีป่อถูกบังคับให้สละราชสมบัติและเนรเทศไปอยู่ที่อินเดียหลังสิ้น[[สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม]] ทรงเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของพม่าและเป็นการสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ในพม่าที่มีมายาวนาน
 
ราชวงศ์โกนบองโก้นบอง มีกษัตริย์ทั้งหมด 11 พระองค์ กินระยะเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2295 จนถึงปี พ.ศ. 2428 มีเมืองหลวงหลายเมือง ทั้ง [[ชเวโบ]] [[สะกายซะไกง์]] [[อังวะ]] [[อมรปุระ]] และ[[มัณฑะเลย์]]
 
== ลำดับกษัตริย์ ==
บรรทัด 146:
|7
| [[ไฟล์:King Bagyidaw and Queen Nanmadaw Me Nu.jpg|100px]]
| ဘကြီးတော<br /><small>Bagyidaw<br />บาจีดอ</small><br />စစ်ကိုင်းမင်း<br /><small>Sagaing Min<br />สะกายเมงซะไกง์เมง</small>
| [[พระเจ้าจักกายแมง]]
| พระบรมปิตุลาธิบดี <br />พระเจ้าสะกายซะไกง์<ref>คำว่าบาจีดอ ซึ่งแปลว่าพระบรมปิตุลาธิบดี (ลุงฝ่ายพ่อ) หมายความว่าเป็นพระปิตุลาของพระเจ้าพุกามแมงและพระเจ้ามินดง, คำว่าพระเจ้าสะกายเมงซะไกง์เมง ในพงศาวดารไทยเรียกเป็นพระเจ้าจักกายแมง เหตุที่มีพระนามดังนี้เพราะทรงเคยครองเมืองสะกายซะไกง์ในสมัยก่อนเสวยราชสมบัติ</ref>
| พระราชนัดดา<br /><small>(หลานปู่) </small>
| [[พ.ศ. 2362|2362]] - [[พ.ศ. 2380|2380]]
บรรทัด 194:
 
== อ้างอิง ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Konbaung dynasty|ราชวงศ์โกนบองโก้นบอง}}
*[http://www.lib.washington.edu/asp/myanmar/pdfs/YI0012A.pdf Life at the Burmese Court under the Konbaung Kings] Dr Yi Yi, Historical Research Department, Rangoon, 1982
* [http://anglicanhistory.org/asia/burma/forty/18.html Forty Years in Burma] John Ebenezer Marks, London: Hutchinson & Co., 1917
บรรทัด 203:
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์พม่า]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์โกนบองโก้นบอง]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 18]]
[[หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19]]