ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือบรรทุกอากาศยาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 45:
 
===ความสำคัญในสงครามโลกครั้งที่ 2===
[[ไฟล์:Japanese aircraft carrier shokaku 1941.jpg|thumb|left|Shōkaku upon completion, 23 August 1941]]
[[ไฟล์:HMS Ark Royal h85716.jpg|thumb|right|The Royal Navy's [[HMS Ark Royal (91)|HMS ''Ark Royal'']] in 1939, with Swordfish biplane bombers passing overhead. The British aircraft carrier was involved in the crippling of the German battleship [[German battleship Bismarck|''Bismarck'']] in May 1941]]
[[ไฟล์:USS Enterprise (CV-6) in Puget Sound, September 1945.jpg|thumb|[[ยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6)]], the [[Most decorated US ships of World War II|most decorated U.S. warship of World War II]]]]
[[ไฟล์:Japanese aircraft carrier shokaku 1941.jpg|thumb|left|Shōkaku upon completion, 23 August 1941]]
 
การพัฒนาเรือดาดฟ้าเรียบทำให้เกิดเรือขนาดใหญ่ลำแรกๆ ขึ้น ในปีพ.ศ. 2461 เรือ[[เอชเอ็มเอส อาร์กัส (I49)|เอชเอ็มเอส ''อาร์กัส'']]ได้กลายเป็นเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกของโลกที่สามารถนำเครื่องบินขึ้นและลงจอดได้<ref>Geoffrey Till, "Adopting the Aircraft Carrier: The British, Japanese, and American Case Studies" in {{cite book |title= Military Innovation in the Interwar Period|edition=|editor1-first= Williamson|editor1-last= Murray|editor2-first= Allan R|editor2-last= Millet |year= 1996|publisher=Cambridge University Press|location= New York|isbn= 0-521-63760-0|page= 194}}</ref> เมื่อถึงช่วงกลางทศวรรษที่ 2463 การปฏิวัติเรือบรรทุกแบบต่างๆ ก็เป็นไปได้ด้วยดี ส่งผลให้เกิดเรืออย่าง [[เรือบรรทุกอากาศยานโฮวโชว|เรือโฮวโชว]] (พ.ศ. 2465) [[เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส (95)|เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส]] (พ.ศ. 2467) และ[[เรือบรรทุกอากาศยานเบียน|เรือเบียน]] (พ.ศ. 2470) เรอืบรรทุกอากาศยานลำแรกๆ นั้นเป็นเรือที่ดัดแปลงมาจากเรือหลายแบบ เช่น เรือบรรทุก เรือลาดตระเวน เรือลาดตระเวนประจัญบาน หรือเรือประจัญบาน [[สนธิสัญญาวอชิงตัน]]ในปีพ.ศ. 2465 มีผลต่อการสร้างเรือบรรทุก สหรัฐและราชอาณาจักรได้รับอนุญาตให้สร้างเรือบรรทุกที่มีขนาดใหญ่ได้ถึง 135,000 ตัน ในขณะที่บางกรณีที่มีข้อยกเว้นให้สามารถดัดแปลงเรือหลักขนาดใหญ่กว่าให้เป็นเรือบรรทุกได้ เช่น [[เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเลกซิงตัน]] (พ.ศ. 2470)