ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถอดเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8070755 โดย 2001:44C8:4520:899:1:0:4479:91D8: ย้อนการก่อกวนด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การถอดเสียง'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] (สืบค้นออนไลน์)</ref> หรือ '''การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง''' ({{lang-en|Transcription}}) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับ[[การทับศัพท์แบบถอดอักษร]] ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอด[[อักษรซีริลลิก]]เป็น[[อักษรละติน]]สำหรับภาษา[[รัสเซีย]] (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น
'''การถอดเสียง'''<ref>[
 
มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ [[สัทอักษรสากล]] และ แซมปา
 
ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกับ
 
{| border=0 cellspacing=0 cellpadding=4 style="border:1px solid #999; margin:1.5em 0;"
|+
|-
! colspan="2" align="left" | การทับศัพท์
|-
| ต้นฉบับ ภาษารัสเซีย (อักษรซีลิลิก)
| Борис Николаевич Ельцин
|-
| คำทับศัพท์แบบถอดอักษรอย่างเป็นทางการ (GOST)
| Boris Nikolaevi&#x10d; El'cin
|-
| คำทับศัพท์แบบถอดอักษรในทางวิชาการ
| Boris Nikolajevič Jel’cin
|-
| คำทับศัพท์แบบถ่ายเสียงในลักษณะ[[สัทอักษรสากล]]
|เปลี่ยนคำพูดภาษาอื่นๆเป็นภาษาไทย
|-
! colspan="2" align="left" | เขียนชื่อบุคคลเดิมในภาษาอื่น
|-
| ภาษาอังกฤษ
| Boris Nikolayevitch Yeltsin
|-
| ภาษาเยอรมัน
| Boris Nikolajewitsch Jelzin
|-
| ภาษาฮิบรู
| בוריס ניקולאייביץ' יילצין
|-
| ภาษาสเปน
| Borís Nikoláievich Yeltsin
|-
| ภาษาตุรกี
| Boris Nikolayeviç Yeltsin
|}
 
== การทับศัพท์ในภาษาต่างๆ ==
คำเดียวกันมักจะมีการทับศัพท์แตกต่างกัน ถ้าใช้ระบบที่ต่างกัน เช่นใน[[ภาษาจีน]] ชื่อเมืองหลวง [[ปักกิ่ง]] ได้มีการทับศัพท์ 2 แบบ คือ ''Beijing'' ในระบบ[[ฮั่นหยู่พินอิน]] และ ''Pei-Ching'' ในระบบ[[Wade-Giles]]
 
การทับศัพท์จากภาษาอื่นไปเป็นภาษาจีน ใช้การเขียนคำศัพท์ที่มีเสียงใกล้เคียง เช่นชื่อ บุช ในชื่อ[[จอร์จ บุช]] ทับศัพท์ในภาษาจีนเป็น "โบวซู" (布殊) โดยตัวอักษรมีความหมายว่า "ผ้า" และ "พิเศษ" สำหรับภาษาญี่ปุ่น คำทับศัพท์จากภาษาอื่นมา จะถูกเขียนในตัวอักษร[[คะตะกะคาตากานะ]] ซึ่งเป็นหนึ่งในระบบการเขียนของภาษาญี่ปุ่น
 
ในภาษาไทย ระบบ[[การทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน]]เป็นระบบมาตรฐานที่ใช้สำหรับเอกสารทางราชการในประเทศไทย และยังคมนิยมใช้เป็นมาตรฐานหลักในประเทศไทย โดยมีระบบสำหรับการทับศัพท์ใน[[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาญี่ปุ่น]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษามลายู]] [[ภาษาเยอรมัน]] [[ภาษารัสเซีย]] [[ภาษาสเปน]] [[ภาษาอาหรับ]] [[ภาษาอิตาลี]] นอกจากนี้การทับศัพท์จากภาษาไทยเป็นตัวอักษรละติน ในระบบ [[ALA-LC]] โดย The Library of Congress <ref>[http://www.loc.gov/catdir/cpso/romanization/thai.pdf ระบบการทับศัพท์ภาษาไทยเป็นอักษรละติน ระบบ ALA-LC]</ref> และ มาตรฐาน [[ISO 11940]] (ค.ศ. 1998) แบบถ่ายถ่ายทอดตัวอักษรโดยระบบของ[[แอนซี]]