ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 2405:9800:B920:47F:F421:F75F:52BC:537C (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย ร้อยตรี โชคดี
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 38:
ในพระนิพนธ์ของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ได้กล่าวตามความในจดหมายเหตุต่างประเทศแห่งหนึ่งว่า ในรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา|กรุงศรีอยุธยา]] ([[พ.ศ. 2199]] - [[พ.ศ. 2231]]) เรือค้าขายของ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]ลำหนึ่งได้เดินทางมากรุงศรีอยุธยา เมื่อมาถึงที่[[ป้อมวิชัยประสิทธิ์]]ของไทยไว้ว่า
 
ปกติคนต่างชาติที่ล่องมาทางเรือจะไปอยุธยา ต้องผ่านเจ้าพระยา ซึ่งเรื่องที่เกิดขึ้นนั้นเกิดที่ป้อมวิไชยเยนทร์ หรือป้อมฝรั่ง เพราะพระยาวิชเยนทร์ เกณฑ์แรงงานฝรั่งมาสร้างไว้ ปัจจุบันคือ ป้อมวิไชยประสิทธิ์ ตั้งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ ปกติเรือสินค้าสำคัญ เรือที่มากับราชทูตที่จะผ่านต้องมีธรรมเนียมประเพณีคือ ชักธงประเทศของเขาบนเรือ เพื่อแสดงสัญลักษณ์ว่า มาถึงแล้ว เมื่อเรือฝรั่งเศสชักธงชาติของตัวเองขึ้น ฝ่ายสยามยิง[[สลุต]]คำนับตามธรรมเนียม ซึ่งขณะเดียวกันสยามเองต้องชักธงขึ้นด้วย เพื่อตอบกลับว่า ยินดีต้อนรับ แต่ตอนนั้นทหารประจำป้อมวิไชยเยนทร์ไม่เคยพบประเพณีแบบนี้ และสยามไม่มีธงสัญลักษณ์ที่ใช้เป็นธงชาติมาก่อน จึงคว้าผ้าที่วางอยู่แถวนั้น ซึ่งดันหยิบธงชาติฮอลันดาชักขึ้นเสาแบบส่งเดช เมื่อทหารฝรั่งเศสเห็นก็ตกใจไม่ยอมชักธงและไม่ยอมยิงสลุต จนกว่าจะเปลี่ยน เพราะการที่ได้ชักเอา[[ธงชาติเนเธอร์แลนด์|ธงชาติฮอลันดา]] ((ปัจจุบันคือ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]]) ซึ่งในขณะนั้น[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]กับ[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ฮอลันดา]]เป็นศัตรูกัน) ฝ่ายไทยได้แก้ปัญหาโดยชักผ้า[[สีแดง]]ขึ้นแทน[[ธงชาติเนเธอร์แลนด์|ธงชาติฮอลันดา]] ฝรั่งเศสจึงยอมยิงสลุตคำนับตอบ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงถือกันว่าเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ธงชาติไทย<ref name="ความเป็นมา">{{cite web |url=http://www.t-h-a-i-l-a-n-d.org/thaiflag/newsite/detail.php?id=4 |title= ประวัติ ความเป็นมา และรูปแบบธงชาติไทย |author= พิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย (ธงไตรรงค์) |date= |work= |publisher= |accessdate=14 เมษายน 2013}}</ref> โดยทหารสยามประจำป้อมก็เปลี่ยนเป็นผ้าสีแดงที่หาได้ในตอนนั้น และต้นกำเนิดธงก็เริ่มขึ้น นับจากนั้น ธงที่ใช้ไม่ว่าจะใช้บนเรือหลวง เรือราษฎร ใช้บนป้อมประจำการก็ล้วนเป็นสีแดง
 
=== [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|รัชกาลที่ 1]] - พ.ศ. 2386 ===