ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เขียนผิด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น}}
[[ไฟล์:Lightning3.jpg|thumb|[[ฟ้าผ่า]]ในเมืองตอนกลางคืนที่เกิดซ้ำ ๆ หลายครั้ง ฟ้าผ่าเป็นหนึ่งในผลกระทบที่รุนแรงที่สุดของไฟฟ้า]]หกห[[ภูมิภาคทศาสนาอิสลาม|หบ]]และ[[การแพทย์อิสลาม|กกแพทย์มุสลิม]]<ref>{{citation|title=Review: Electric Fish|first=Peter|last=Moller|journal=BioScience|volume=41|issue=11|date=December 1991|pages=794–6 [794]|doi=10.2307/1311732|jstor=1311732|publisher=American Institute of Biological Sciences|last2=Kramer|first2=Bernd}}</ref> นักเขียนโบรากกกกกกณหลายคน เช่น [[Pliny the Elder|Pliny tกกกกกhe Elder]] แกกกละ [[Scribonius Largus]] ได้พิสูจกกกกน์กกกกกให้เห็นถึงอกรชากกกกกกกกกกกกกกกกกฟหกไหฟกกดผปแดปเฟกซึ่งหวังว่าการกระตุกอย่างมีพลังอาจรักษาพวกเขาได้<ref name="morris">
{{ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า}}
'''ไฟฟ้า''' ({{lang-el|ήλεκτρον}}; {{lang-en|electricity}}) เป็นชุดของปรากฏการณ์ทาง[[ฟิสิกส์]] มีที่มาจาก
ภาษากรีก
 
พูดถึงไฟฟ้า ประจุจะผลิตสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งจะกระทำกับประจุอื่น ๆ ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เนื่องจากหลายชนิดของฟิสิกซ์ดังต่อไปนี้
* '''[[ประจุไฟฟ้า]]''' ({{lang-en|electric charge}}) เป็นคุณสมบัติของบาง[[อนุภาคย่อยของอะตอม]] ที่กำหนด[[ปฏิสัมพันธ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้า]]ของพวกมัน สสารที่มีประจุไฟฟ้าจะอยู่ภายใต้อิทธิพลของ, และสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าอาจเป็นบวกหรือเป็นลบ
* '''[[สนามไฟฟ้า]]''' ({{lang-en|electric field}}) (ดู[[ไฟฟ้าสถิต]]) ว่าด้วยกลุ่มประจุที่ถูกล้อมรอบด้วยสนามไฟฟ้าหนึ่ง สนามไฟฟ้าจะสร้างแรงหนึ่งขึ้นบนประจุอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้าจะเดินทางด้วย[[ความเร็วแสง]]
* '''[[ศักย์ไฟฟ้า]]''' ({{lang-en|electric potential}}) เป็นความจุของสนามไฟฟ้าหนึ่งที่จะทำ'''[[งาน (ฟิสิกส์)|งาน]]'''บนประจุไฟฟ้า ปกติมีหน่วยเป็น [[โวลต์]]
* '''[[กระแสไฟฟ้า]]''' ({{lang-en|electric current}}) ว่าด้วยการเคลื่อนไหวหรือการไหลของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ทั่วไปมีหน่วยเป็น[[แอมแปร์]]
* '''[[พลังงานไฟฟ้า]]''' ({{lang-en|electric energy}}) เป็นพลังงานที่ได้จาก[[พลังงานศักย์]]หรือ[[พลังงานจลน์]] ไฟฟ้าเมื่อถูกใช้อย่างหลวมๆจะใช้เพื่ออธิบายพลังงานที่ถูกดูดซับหรือถูกนำส่งโดยวงจรไฟฟ้าหนึ่ง (ยกตัวอย่างเช่น พลังงานที่จัดหามาให้จากโรงไฟฟ้า)
* '''[[แม่เหล็กไฟฟ้า]]''' : กลุ่มประจุที่กำลังเคลื่อนที่จะสร้าง[[สนามแม่เหล็ก]]ขึ้นมาขนาดหนึ่ง กระแสไฟฟ้าก็สร้างสนามแม่เหล็ก และสนามแม่เหล็กที่กำลังเปลี่ยนแปลงก็สร้างกระแสไฟฟ้า
 
ใน [[วิศวกรรมไฟฟ้า]] คำว่าไฟฟ้าหมายถึง:
* '''[[กำลังไฟฟ้า]]''' ({{lang-en|electric power}}) เมื่อกระแสไฟฟ้าถูกใชัเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราที่พลังงานไฟฟ้าที่ถูกถ่ายโอนไปยังวงจรไฟฟ้า มีหน่วย SI เป็นวัตต์ซึ่งเท่ากับหนึ่งจูลต่อวินาที
* '''[[อิเล็กทรอนิกส์]]''' เกี่ยวข้องกับ[[วงจรไฟฟ้า]]ที่ใช้ชิ้นส่วนที่[[สภาพพาสซีฟ|แอคทีฟ]]เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอดและวงจรรวม และเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ใช้ในการเชื่อมต่อถึงกันแบบ[[สภาพพาสซีฟ|พาสซีฟ]]ที่เกี่ยวข้อง
* '''[[วิศวกรรมกำลังไฟฟ้า]]''' (อังกฤษ: Power engineering) หรือที่เรียกว่า วิศวกรรมระบบไฟฟ้า เป็นสาขาย่อยของ[[วิศวกรรมพลังงาน]]และ[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]ที่เกี่ยวข้องกับ[[การผลิตไฟฟ้า]], [[การส่งกำลังไฟฟ้า]], [[การกระจายกำลังไฟฟ้า]], [[การใช้ให้เป็นประโยชน์]] (อังกฤษ: utilization) และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับระบบดังกล่าว
 
ปรากฏการณ์เกี่ยวกับไฟฟ้าได้มีการศึกษากันมานับตั้งแต่โบราณกาลแต่ความก้าวหน้าในความเข้าใจมางทฤษฎีก็ยังคงช้าอยู่จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 แม้ว่าในขณะนั้นการประยุกต์ใช้ไฟฟ้าในทางปฏิบัติจะยังมีน้อยและมันยังไม่ถึงเวลาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่[[วิศวกรรมไฟฟ้า|วิศวกรไฟฟ้า]]จะสามารถนำมันไปใช้ในงานอุตสาหกรรมและตามบ้านเรือน การขยายตัวอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีไฟฟ้าในช่วงเวลานี้ได้เปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมและสังคม ความหลากหลายที่เกินธรรมดาของไฟฟ้าทำให้มันสามารถถูกนำไปใช้ในงานที่เกือบจะไร้ขัดจำกัดซึ่งรวมถึงการขนส่ง การให้ความร้อน แสงสว่าง การสื่อสาร และคอมพิวเตอร์<ref>
{{Citation
| first = D.A. | last = Jones
| title = Electrical engineering: the backbone of society
| journal = Proceedings of the IEE: Science, Measurement and Technology
| pages = 1–10
| volume = 138
| issue = 1
| doi = 10.1049/ip-a-3.1991.0001
| year = 1991}}
</ref>
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Thales.jpg|thumb|150px|right|[[เธลีส|เธลีสแห่งมิเลทัส]] ชายที่มีหนวดและผมยุ่ง เขาเป็นนักค้นคว้าทางด้านไฟฟ้าที่รู้กันว่าเป็นคนเก่าแก่ที่สุด]]
 
{{บทความหลัก|ประวัติของทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า|ประวัติของวิศวกรรมไฟฟ้า}}
นานก่อนที่จะมีความรู้ใด ๆ ด้านไฟฟ้า ผู้คนได้ตระหนักถึงการกระตุกของ[[ปลาไฟฟ้า]] ในสมัย[[อียิปต์โบราณ]]พบข้อความที่จารึกในช่วงประมาณ 2750 ปีก่อนคริสต์ศักราช ได้พูดถึงปลาเหล่านี้ว่าเป็น "สายฟ้าแห่ง[[แม่น้ำไนล์]]" และพรรณนาว่าพวกมันเป็น "ผู้พิทักษ์" ของปลาอื่น ๆ ทั้งมวล ปลาไฟฟ้ายังถูกบันทึกอีกครั้งในช่วงพันปีต่อมาโดย[[กรีกโบราณ]], [[อาณาจักรโรม|ชาวโรมัน]]และ[[ภูมิภาคทศาสนาอิสลาม|นักธรรมชาติวิทยาชาวอาหรับ]]และ[[การแพทย์อิสลาม|แพทย์มุสลิม]]<ref>{{citation|title=Review: Electric Fish|first=Peter|last=Moller|journal=BioScience|volume=41|issue=11|date=December 1991|pages=794–6 [794]|doi=10.2307/1311732|jstor=1311732|publisher=American Institute of Biological Sciences|last2=Kramer|first2=Bernd}}</ref> นักเขียนโบราณหลายคน เช่น [[Pliny the Elder]] และ [[Scribonius Largus]] ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงอาการชาจาก[[ไฟฟ้าช็อค]]ที่เกิดจาก[[ปลาดุกไฟฟ้า]]และ[[ปลากระเบนไฟฟ้า]] และยังรู้อีกว่าการช็อคเช่นนั้น สามารถเดินทางไปตามวัตถุที่นำไฟฟ้า<ref name=Electroreception>
{{citation
| first = Theodore H. | last = Bullock
| title = Electroreception
| pages = 5–7
| publisher = Springer
| year = 2005
| isbn = 0-387-23192-7}}
</ref> [[ผู้ป่วย]]ที่ต้องทนทุกข์ทรมาณจากการเจ็บป่วยเช่นเป็น[[โรคเกาต์]]หรือ[[ปวดหัว]] จะถูกส่งไปสัมผัสกับปลาไฟฟ้าซึ่งหวังว่าการกระตุกอย่างมีพลังอาจรักษาพวกเขาได้<ref name=morris>
{{citation
| first = Simon C. | last = Morris
เส้น 50 ⟶ 7:
| publisher = Cambridge University Press
| year = 2003
| isbn = 0-521-82704-3}}</ref> เป็นไปได้ว่าวิธีการที่เก่าแก่ที่สุดและใกล้ที่สุดในการค้นพบกหบตัวตนของ[[ฟ้าผ่า]]และไฟฟ้าจากแหล่งที่มาอื่น ๆ ควรที่จะอุทิศให้กับชาวอาหรับ ผู้ที่ก่อนศตวรรษที่ 15 พวกเขามีคำ[[ภาษาอารบิก]]สำหรับฟ้าผ่าว่ากฟกกำลังถูกนำส่งในแพกเกตที่แปลงเป็นปริมาณที่ไม่ต่อเนื่อง ''raad'' ที่หมายถึง[[ปลากระเบนเป็นการใส่พกหกด้วยและเซลล์นี้มักจะถูกใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า]]<ref name="EncyclopediaAmericana">''The [[Encyclopedia Americana]]; a library of universal knowledge'' (1918), [[New York]]: Encyclopedia Americana Corp</ref>เพื่อการพานิชย์
 
[[โซลิดสเตต|อุปกรณ์โซลิดสเตต]]ตัวแรกเป็น "[[ตัวตรวจจับแบบหนวดแมว]]" มันถูกใช้เป็นครั้งแรกในทศวรรษที่ 1900 ในเครื่องรับวิทยุ ลวดคล้ายหนวดแมวจกกที่ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อสวิตช์และขยายมัน การไหลของกระแสสามารถเข้าใจได้ในสองรูปแบบ: แบบแรกเป็นอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ และแบบที่สองเป็นพร่องอิเล็กตรอนที่มีประจุบวกที่เรียกว่า[[โฮลอิเล็กตรอน|โฮล]] ประจุและโฮลเหล่านี้สามารถเข้าใจได้ในแง่ของควอนตัมฟิสิกส์ วัสดุที่ใช้สร้างส่วนใหญ่มักจะเป็น[[สารกึ่งตัวนำ]]ที่เป็นผลึก<ref>John Sydney Blakemore, ''Solid state physics'', pp.1-3, Cambridge University Press, 1985 ISBN 0-521-31391-0.</ref><ref>Richard C. Jaeger, Travis N. Blalock, ''Microelectronic circuit design'', pp.46-47, McGraw-Hill Professional, 2003 ISBN 0-07-250503-6.</ref>
วัฒนธรรมโบราณรอบ ๆ [[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]จะรู้จักวัตถุบางอย่าง เช่นแท่ง[[อำพัน]] เมื่อนำมาขัดถูกับขน[[แมว]] มันสามารถดึงดูดวัตถุที่เบาเช่นขนนก [[เธลีส|เธลีสแห่งมิเลทัส]]ได้ทำข้อสังเกตหลายอย่างเกี่ยวกับ[[ไฟฟ้าสถิต]]ราว 600 ปีก่อนคริสตกาล จากข้อสังเกตเหล่านั้นเขาเชื่อว่าการเสียดสีทำให้เกิด[[แม่เหล็ก]]บนอัมพัน ซึ่งต่างกับสินแร่อื่นเช่น[[แมกนีไทต์]]ที่ไม่ต้องขัดถู <ref name=stewart>
{{Citation
| first = Joseph | last= Stewart
| title = Intermediate Electromagnetic Theory
| publisher = World Scientific
| year = 2001
| page = 50
| isbn = 981-02-4471-1}}
</ref><ref>
{{Citation
| first = Brian | last = Simpson
| title = Electrical Stimulation and the Relief of Pain
| publisher = Elsevier Health Sciences
| year = 2003
| pages = 6–7
| isbn =0-444-51258-6}}
</ref> เธลีสผิดที่เชื่อว่าการดึงดูดเกิดจากแม่เหล็ก แต่วิทยาศาสตร์ต่อมาจะพิสูจน์ความเชื่อมโยงระหว่างแม่เหล็กและไฟฟ้า ตามทฤษฎีที่ขัดแย้งกัน ชาว[[พาเทีย|พาเทียน]]อาจมีความรู้เกี่ยวกับ[[การชุบด้วยไฟฟ้า]]มาก่อน เมื่ออ้างถึงการค้นพบ[[แบตเตอรี่แบกแดด]]ที่คล้ายคลึงกับ[[เซลล์กัลวานี]]ในปี [[ค.ศ. 1936]] แม้จะยังไม่แน่นอนว่าสิ่งประดิษฐ์ที่ได้จะเป็นไฟฟ้าในธรรมชาติหรือไม่<ref>
{{Citation
| first = Arran | last = Frood
| title = Riddle of 'Baghdad's batteries'
| publisher = BBC
| date = 27 February 2003
| accessdate = 2008-02-16
| url = http://news.bbc.co.uk/1/hi/sci/tech/2804257.stm}}
</ref>
 
[[ไฟล์:Franklin-Benjamin-LOC.jpg|thumb|left|upright|[[เบนจามิน แฟรงคลิน]]ได้ทำการทดลองอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับไฟฟ้าในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตามบันทึกของ [[โจเซฟ พรีสท์ลี่]] (1767) ''ประวัติและสถานะปัจจุบันของไฟฟ้า'' ที่แฟรงคลินมีหนังสือโต้ตอบอย่างกว้างขวางกับเขาด้วย]]
 
ไฟฟ้ายังเป็นเพียงความอยากรู้อยากเห็นทางปัญญาเป็นเวลานับพันปี กระทั่งทศวรรษที่ 1600 เมื่อ[[วิลเลียม กิลเบิร์ต]]นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้ทำการศึกษาเรื่องแม่เหล็กและไฟฟ้าอย่างจริงจัง เขาได้แยกความแตกต่างของผลกระทบจาก[[แร่แแม่เหล็ก]]ออกจากไฟฟ้าสถิตที่เกิดจากการขัดสีแท่งอำพัน<ref name=stewart/> เขาบัญญัติศัพท์คำ[[ภาษาละตินใหม่]]ว่า "electricus" ("ของอำพัน" หรือ "เหมือนอัมพัน" จาก ἤλεκτρον หรือ ''elektron'' คำ[[กรีกโบราณ]]สำหรับ "อัมพัน") เพื่อหมายถึงคุณสมบัติในการดึงดูดวัตถุเล็กๆหลังการขัดสี<ref>
{{Citation
| first = Brian | last = Baigrie
| title = Electricity and Magnetism: A Historical Perspective
| publisher = Greenwood Press
| year = 2006
| pages = 7-8
| isbn = 0-3133-3358-0}}
</ref> การผสมกันนี้ทำให้เกิดคำในภาษาอังกฤษว่า "electric" และ "electricity" ซึ่งปรากฏขึ้นครั้งแรกในสิ่งพิมพ์ Pseudodoxia Epidemica ของ[[โธมัส บราวน์]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1646]]<ref>
{{Citation
| first = Gordon | last = Chalmers
| title = The Lodestone and the Understanding of Matter in Seventeenth Century England
| journal = Philosophy of Science
| year = 1937
| volume = 4
| issue = 1
| pages = 75–95
| doi = 10.1086/286445}}</ref>
 
[[ไฟล์:M Faraday Th Phillips oil 1842.jpg|thumb|upright|[[ไมเคิล ฟาราเดย์]] การค้นพบของเขาก่อตัวเป็นรากฐานของเทคโนโลยีมอเตอร์ไฟฟ้า]]
 
ผลงานชิ้นต่อมาดำเนินการโดย[[อ็อตโต ฟอน เกียริก]], [[โรเบิร์ต บอยล์]], [[สตีเฟน เกรย์]] และ[[ชาร์ล เอฟ. ดู เฟย์]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 [[เบนจามิน แฟรงคลิน]] ทำการวิจัยเรื่องไฟฟ้าอย่างกว้างขวาง เขาขายทรัพย์สมบัติที่มีเพื่อเป็นทุนวิจัย ในเดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 1752]] เขามีชื่อเสียงจากการติดลูกกุญแจโลหะไว้ที่หางของเชือก[[ว่าว]]ที่เปียกชื้น แล้วปล่อยลอยขึ้นฟ้าในวันที่มีลมพายุรุนแรง<ref>
{{citation
| first = James | last = Srodes
| title = Franklin: The Essential Founding Father
| pages = 92–94
| year = 2002
| publisher = Regnery Publishing
| isbn = 0-89526-163-4}} มันไม่แน่ว่าแฟรงคลินดำเนินการทดลองนี้ด้วยตัวเอง แต่นิยมที่จะอุทิศให้กับเขา</ref> ประกายไฟที่กระโดดอย่างต่อเนื่องจากลูกกุญแจไปยังหลังมือของเขาได้แสดงให้เห็นว่า[[ฟ้าผ่า]]คือไฟฟ้าในธรรมชาติอย่างแท้จริง<ref>{{Citation
| last = Uman
| first = Martin
| authorlink = Martin A. Uman
| title = All About Lightning
| publisher = Dover Publications
| year = 1987
| url = http://ira.usf.edu/CAM/exhibitions/1998_12_McCollum/supplemental_didactics/23.Uman1.pdf
|format=PDF| isbn = 0-486-25237-X}}</ref> เขายังได้อธิบายถึงพฤฒิกรรมที่ผิดปกติและขัดแย้งกันเองที่ปรากฏอีกด้วย<ref>{{Citation
| last=Riskin
| first=Jessica
| title=Poor Richard’s Leyden Jar: Electricity and economy in Franklinist France
| year=1998
| url=http://www.stanford.edu/dept/HPS/poorrichard.pdf
| page=327
}}</ref> เกี่ยวกับ[[โถเลย์เดน]]ที่ใช้เป็นอุปกรณ์สำหรับเก็บประจุไฟฟ้าปริมาณมากในรูปของไฟฟ้าที่ประกอบด้วยทั้งประจุบวกและประจุลบ
 
ในปี[[ค.ศ. 1791]] [[ลุยจิ กัลวานี]]ได้ตีพิมพ์การค้นพบ[[แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ]]ของเขาที่แสดงให้เห็นว่าไฟฟ้าเป็นตัวกลางที่ผ่านสัญญาณจาก[[เซลล์ประสาท]]ไปสู่กล้ามเนื้อ<ref name=kirby>
{{citation
| first = Richard S. | last = Kirby
| title = Engineering in History
| pages = 331-333
| year = 1990
| publisher = Courier Dover Publications
| isbn = 0486264122}}
</ref> แบตเตอรี่ของ[[อาเลสซานโดร โวลตา]] หรือ[[เซลล์ซ้อนของโวลตา]]ในคริสต์ทศวรรษ 1800 ที่ทำจากชั้นที่สลับซ้อนกันของสังกะสีและทองแดง เป็นแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่เชื่อถือได้ให้กับเหล่านักวิทยาศาสตร์มากกว่า[[เครื่องจักรไฟฟ้าสถิต]] ({{lang-en|Electrostatic machine}}) ที่เคยใช้กันอยู่ก่อนหน้านี้ <ref name=kirby/> การยอมรับใน[[ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า]] ถึงความเป็นหนึ่งเดียวของปรากฏการณ์ไฟฟ้าและแม่เหล็กเป็นผลงานของ [[ฮันส์ คริสเทียน เออสเตด]]และ[[อังเดร มารี แอมแปร์]]ในปี 1819-1820, [[ไมเคิล ฟาราเดย์]]ได้ประดิษฐ์[[มอเตอร์ไฟฟ้า]]ในปี[[ค.ศ. 1821]] และ[[จอร์จ ไซมอน โอห์ม]]ได้ใช้คณิตศาสตร์วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าในปี[[ค.ศ. 1827]]<ref name=kirby/> ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (และแสงสว่าง) ถูกเชื่อมกันในทางนิยามโดย[[เจมส์ เคริก แมกซเวลล์]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากผลงาน "บนเส้นกายภาพของแรง" ของเขาในปี 1861 และปี 1862<ref>Berkson, William (1974) [https://books.google.com/books?id=hMc9AAAAIAAJ&pg=PA148&dq=maxwell+on+physical+lines+of+force#v=onepage&q=maxwell%20on%20physical%20lines%20of%20force&f=false Fields of force: the development of a world view from Faraday to Einstein] p.148. Routledge, 1974</ref>
 
ในตอนต้นศตววรษที่ 19 มีความเจริญรุดหน้าด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับไฟฟ้าอย่างรวดเร็ว ขณะที่ตอนปลายศตววรษที่ 19 จะเห็นความก้าวหน้าด้าน[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]อย่างมหาศาล จากผลงานของบุคคล เช่น[[อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์]], [[อ็อตโต บลาธี]], [[โทมัส อัลวา เอดิสัน]], [[Galileo Ferraris]], [[Oliver Heaviside]], [[Ányos Jedlik]], [[วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1]], [[ชาลส์ แอลเกอร์นอน พาร์ซันส์]], [[เวอร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์]], [[โจเซฟ สวอน]], [[นิโคลา เทสลา]] และ [[จอร์จ เวสติงเฮาส์]] ไฟฟ้าได้เปลี่ยนจากความอยากรู้อยากเห็นทางวิทยาศาสตร์ มาเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับชีวิตสมัยใหม่ และกลายเป็นแรงขับเคลื่อนของ[[การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สอง]]<ref>
{{Citation
| first = Dragana | last = Marković
| title = The Second Industrial Revolution
| url = http://www.b92.net/eng/special/tesla/life.php?nav_id=36502
| accessdate = 2007-12-09}}
</ref>
 
ในปี 1887 [[ไฮน์ริช เฮิร์ตซ์]]<ref name=uniphysics/>{{rp|843–844}}<ref name="Hertz1887">{{cite journal | first=Heinrich|last= Hertz|title=''Ueber den Einfluss des ultravioletten Lichtes auf die electrische Entladung''|journal= [[Annalen der Physik]] |volume=267|issue=8|pages=S. 983–1000|year=1887|doi=10.1002/andp.18872670827|bibcode=1887AnP...267..983H}}</ref> ค้นพบว่า[[ขั้วไฟฟ้า]]ที่เรืองแสงด้วยรังสีอุลตร้าไวโอเลตจะสร้าง[[ประกายไฟฟ้า]]ได้ง่ายมาก ในปี 1905 [[อัลเบิรต ไอน์สไตน์]]ได้ตีพิมพ์เอกสารที่อธิบายข้อมูลการทดลองจาก[[ผลกระทบโฟโตอิเล็กตริก]]เมื่อการเป็นผลลัพธ์ของพลังงานแสงที่กำลังถูกนำส่งในแพกเกตที่แปลงเป็นปริมาณที่ไม่ต่อเนื่อง เป็นการใส่พลังงานให้กับอิเล็กตรอน การค้นพบนี้นำไปสู่การปฏิวัติ[[ควอนตัม]] ไอน์สไตน์ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]ในปี 1921 สำหรับ "การค้นพบกฎของผลกระทบโฟโตอิเล็กตริก"<ref>{{cite web |title=The Nobel Prize in Physics 1921 |publisher=Nobel Foundation |url=http://nobelprize.org/nobel_prizes/physics/laureates/1921/index.html |accessdate=2013-03-16}}</ref> ผลกระทบโฟโตอิเล็กตริกยังถูกใช้ใน[[โฟโตเซลล์]]อย่างที่สามารถพบได้ใน[[เซลล์แสงอาทิตย์]]อีกด้วยและเซลล์นี้มักจะถูกใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อการพานิชย์
 
[[โซลิดสเตต|อุปกรณ์โซลิดสเตต]]ตัวแรกเป็น "[[ตัวตรวจจับแบบหนวดแมว]]" มันถูกใช้เป็นครั้งแรกในทศวรรษที่ 1900 ในเครื่องรับวิทยุ ลวดคล้ายหนวดแมวจะถูกวางเบา ๆ ในการสัมผัสกับผลึกของแข็ง (เช่นผลึกเจอร์เมเนียม) เพื่อที่จะตรวจจับสัญญาณ[[วิทยุ]]จากผลกระทบจุดสัมผัสที่รอยต่อ ({{lang-en|contact junction effect}})<ref>[http://encyclopedia2.thefreedictionary.com/solid+state "Solid state"], ''The Free Dictionary''</ref> ในชิ้นส่วนโซลิดสเตต [[กระแสไฟฟ้า|กระแส]]จะถูกกักขังอยู่ในชิ้นส่วนที่เป็นของแข็งและสารประกอบที่ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อสวิตช์และขยายมัน การไหลของกระแสสามารถเข้าใจได้ในสองรูปแบบ: แบบแรกเป็นอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ และแบบที่สองเป็นพร่องอิเล็กตรอนที่มีประจุบวกที่เรียกว่า[[โฮลอิเล็กตรอน|โฮล]] ประจุและโฮลเหล่านี้สามารถเข้าใจได้ในแง่ของควอนตัมฟิสิกส์ วัสดุที่ใช้สร้างส่วนใหญ่มักจะเป็น[[สารกึ่งตัวนำ]]ที่เป็นผลึก<ref>John Sydney Blakemore, ''Solid state physics'', pp.1-3, Cambridge University Press, 1985 ISBN 0-521-31391-0.</ref><ref>Richard C. Jaeger, Travis N. Blalock, ''Microelectronic circuit design'', pp.46-47, McGraw-Hill Professional, 2003 ISBN 0-07-250503-6.</ref>
 
การประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ในปี 1947 ทำให้อุปกรณ์โซลิดสเตตเริ่มมีการใช้แพร่หลาย ในทศวรรษที่ 1950 และ 1960 ในช่วงการเปลี่ยนผ่านผ่ากกกนจากหลอดสูญญากาศไปเป็น[[ไดโอด]]สารกึ่งตัวนำ, [[ทรานซิสเตอร์]], [[วงจรรวม]] (IC) และ[[ไดโอดเปล่งแสง]] (LED) ปัจจุบันอุปกรณ์โซลิดสเตตที่พบบ่อยได้แก่[[ทรานซิสเตอร์]], ชิป[[ไมโครโปรเซสเซอร์]] และหน่วยความจำแรม (RAM) ชนิดพิเศษที่เรียกว่า แฟลชแรม ซึ่งถูกใช้ใน USB แฟลชไดรฟ์ และเมื่อเร็วๆนี้[[โซลิดสเตตไดรฟ์]]ได้เข้ามาแทนที่จานแม่เหล็กฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์แบบหมุนด้วยกลไก
 
== แนวคิด ==
เส้น 165 ⟶ 29:
| year = 1982
| isbn = 0-201-07199-1|display-authors=etal}}
</ref>{{rp|457}} ลูกกลมน้ำหนักเบาที่ห้อยลงมาด้วยเชือก สามารถสร้างประจุขึ้นบนตัวมันได้โดยการสัมผัสกับแท่งแก้ว ซึ่งตัวแท่งแก้วถูกสร้างประจุมาก่อนโดยการถูกับผ้า ถ้าลูกกลมที่คล้ายกันอีกลูกหนึ่งถูกสร้างประจุโดยแท่งแก้วอันเดียวกัน ลูกกลมทั้งสองจะผลักกัน นั่นคือประจุจะออกแรงที่บังคับให้ลูกกลมทั้งสองแยกออกจากกัน ลูกกลมสองลูกที่ถูกสร้างประจุด้วยแท่งอำพันที่ผ่านการขัดถูก็ผลักกันเช่นกัน แต่ถ้าลูกหนึ่งถูกสร้างประจุด้วยแท่งแก้ว กกกกคล้ายกและอีกลูกถูกสร้างประจุด้วยแท่งอำพัน ลูกกลมทั้งสองจะดึงดูดดึงดูดกกัน ปรากฏการณ์เหล่านี้ถูกตรวจสอบในช่วงปลายศตวรรษที่สิบแปดโดย[[ชาร์ล-โอกุสแต็ง_เดอ_กูลง|คูลอมบ์]] ซึ่งเป็นผู้สรุปว่าประจุจะแสดงตัวในสองรูปที่หักล้างกัน การค้นพบนี้นำไปสู่วลีที่รู้จักกันดีว่า ''ประจุเหมือนกันผลักกันและประจุต่างกันดึงดูดกัน''เชื่อมโยงแรงกับผลิตภัณฑ์ของปรกละมีความสัมพันธ์แบบ[[ผกผันกำลังสอง]] ({{lang-en|inverse-square}}) กับระยะทางระหว่างจุดศูนย์กลางของทั้งสองลูกกลม<ref>"The repulsive force between two small spheres charged with the same type of electricity is inversely proportional to the square of the distance between the centres of the two spheres." Charles-Augustin de Coulomb, ''Histoire de l'Academie Royal des Sciences'', Paris 1785.</ref><ref name=uniphysics/"Duffin">
 
แรงจะกระทำบนตัวอนุภาคที่มีประจุเอง ดังนั้นประจุมีแนวโน้มที่จะแพร่กระจายตัวเองอย่างสม่ำเสมอเท่าที่เป็นไปได้ทั่วพื้นผิวนำกระแส ขนาดของแรงแม่เหล็กไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นแบบดึงดูดหรือแบบผลักจะถูกกำหนดโดย[[กฎของคูลอมบ์]], ซึ่งเชื่อมโยงแรงกับผลิตภัณฑ์ของประจุและมีความสัมพันธ์แบบ[[ผกผันกำลังสอง]] ({{lang-en|inverse-square}}) กับระยะทางระหว่างจุดศูนย์กลางของทั้งสองลูกกลม<ref>"The repulsive force between two small spheres charged with the same type of electricity is inversely proportional to the square of the distance between the centres of the two spheres." Charles-Augustin de Coulomb, ''Histoire de l'Academie Royal des Sciences'', Paris 1785.</ref><ref name=Duffin>
{{Citation
| first = W.J. | last = Duffin
เส้น 182 ⟶ 44:
| publisher = National Academies Press
| isbn = 0-309-03576-7}}
</ref> แต่ไม่เหมือนแรงนั้นกกที่มันดำเนินการไปทั่วทุกระยะทาง<ref name="Umashankar">
{{citation
| first = Korada | last = Umashankar
เส้น 190 ⟶ 52:
| publisher = World Scientific
| isbn = 9971-5-0921-0}}
</ref> ในการเปรียบเทียบกับ[[แรงโน้มถ่วง]]ที่อ่อนกว่ามาก แรงแม่เหล็กไฟฟ้าที่ผลักอิเล็กตรอนสองตัวให้แยกจากกันจะเป็น 10<sup>42</sup> เท่าของแรงดึงดูดจากแรงโน้มถ่วงที่ดึงพวกมันเข้ามารวมกัน<ref name="hawking">
{{Citation
| first = Stephen | last = Hawking
เส้น 198 ⟶ 60:
| year = 1988
| isbn = 0-553-17521-1}}</ref>
 
 
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไฟฟ้า"