ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8067541 สร้างโดย 180.183.56.157 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
| image = ไฟล์:Maha Sura Singhanat.jpg
| full name = สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
| personal name = บุญมา
|succession = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]
| reign-type = {{Nowrap|ดำรงพระยศ}}
|reign = พ.ศ. 2325 - 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2346
|predecessor = [[สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์]] ([[กรุงธนบุรี]])
|successor = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร]]
| birth_style = {{Nowrap|พระราชสมภพ }}
| birth_date = วันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน<br>(19 กันยายน พ.ศ. 2286)<ref name="สกุลวงศ์">''ราชสกุลวงศ์'', หน้า 3</ref>
|birth_place = [[กรุงศรีอยุธยา]]
บรรทัด 22:
 
== พระราชประวัติ ==
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท มีพระนามเดิมว่า '''บุญมา''' เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ใน[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]] (ทองดี) และ[[พระอัครชายา (หยก)]] ประสูติในรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน จ.ศ. 1105<ref name="ประวัติ">[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๑๐๕-พระราชประวัติกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : ๑๐๕. พระราชประวัติกรมพระราชวังบวรสถานมงคล]</ref> ตรงกับวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2286 มีนิวาสถานอยู่หลัง[[ป้อมเพชร]]ใน[[กรุงศรีอยุธยา]] มีพระภราดาพระภคินีร่วมพระชนก 7 พระองค์ ได้แก่
# '''สา''' ได้รับสถาปนาเป็น'''[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระเทพสุดาวดี]]''' ในรัชกาลที่ 1
# ไม่ปรากฏพระนามเดิม ได้รับสถาปนาเป็น'''[[สมเด็จพระเจ้าขุนรามณรงค์]]''' ในรัชกาลที่ 1
บรรทัด 32:
 
=== กรุงศรีอยุธยาแตก ===
เมื่อทรงเจริญวัยได้รับราชการเป็นมหาดเล็กตำแหน่งนายสุดจินดา มหาดเล็กหุ้มแพร ในรัชกาล[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์]] ใน พ.ศ. 2310 เมื่อข้าศึกยกมาล้อมกรุงศรีอยุธยา ขณะนั้นพระนครอ่อนแอมาก [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|พระยาวชิรปราการ (สิน)]] จึงพาสมัครพรรคพวกตีฝ่าออกจากพระนครศรีอยุธยา มุ่งไปรวบรวมกำลังที่หัวเมืองชายทะเลตะวันออก ที่[[ชลบุรี]] เพื่อจะรบสู้ขับไล่ข้าศึกจากพระนคร เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่ข้าศึกบ้านเมืองสับสนเป็นจลาจล นายสุดจินดาได้เสด็จลงเรือเล็กหลบหนีออกจากกรุงศรีอยุธยา และมุ่งจะเสด็จไปยังเมืองชลบุรีด้วยเช่นกัน ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นหลวงยกกระบัตรเมือง[[ราชบุรี]] ได้นำครอบครัวและบริวารอพยพหลบภัยข้าศึกไปตั้งอยู่ ณ [[อำเภออัมพวา]] เมือง[[สมุทรสงคราม]]ซึ่งแต่เดิมขึ้นกับเมืองราชบุรี ก่อนที่สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทจะเสด็จไปถึงชลบุรี ได้เสด็จไปพบพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่อำเภออัมพวาก่อน ได้ทรงชวนให้เสด็จไปหลบภัย ณ ชลบุรี ด้วย แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ยังไม่พร้อม แต่ได้พระราชทานเรือใหญ่ พร้อมเสบียงอาหาร และพระราชดำริให้ไปฝากตัวทำราชการกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และทรงแนะนำให้เสด็จไปรับท่านเอี้ยง พระชนนีของพระยาตากสิน ซึ่งอพยพไปอยู่ที่บ้านแหลม พร้อมทั้งทรงฝากดาบคร่ำ และแหวน 2 วง ไปถวายเป็นของกำนัลด้วย
 
เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่ข้าศึก ได้ให้ทหารรักษาการอยู่ที่[[ค่ายโพธิ์สามต้น]] และที่[[ธนบุรี]] บ้านเมืองตกอยู่ในภาวะระส่ำระสาย แยกเป็นชุมนุมเป็นเหล่าถึง 6 ชุมนุม พระยาตากสินเป็นชุมนุมหนึ่งรวบรวมไพล่พลตั้งอยู่ที่จันทบุรี เข้าตีข้าศึกที่รักษากรุงศรีอยุธยาแตกไปแล้ว จึงเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สถาปนา[[กรุงธนบุรี]]เป็นราชธานี เมื่อ[[ปีชวด]] สัมฤทธิศก พ.ศ. 2311 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ในขณะนั้นทรงได้รับการสถาปนาบรรดาศักดิ์เป็น'''พระมหามนตรี''' เจ้ากรมพระตำรวจในขวา<ref name="ประวัติ"/>
บรรทัด 65:
 
== พระราชโอรสธิดา ==
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท มีพระราชโอรสธิดารวม 43 พระองค์<ref name="อนุวงศ์"/> พระราชธิดาพระองค์ใหญ่คือ '''"[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าพิกุลทอง กรมขุนศรีสุนทร]]"''' ซึ่งประสูติแต่ "[[เจ้าศรีอโนชา]]" พระราชขนิษฐาใน[[พระเจ้ากาวิละ]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ทรงเป็นต้นราชสกุลอสุนี สังขทัต ปัทมสิงห์ และนีรสิงห์
[[ไฟล์:SurasiH-Nice-WMHt49k.jpg|thumb|140px|พระบรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
[[ไฟล์:พระองค์เจ้าดาราวดี.jpg|thumb|150px|พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดาราวดี]]
บรรทัด 122:
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|date=11 สิงหาคม 2531|accessdate=21 สิงหาคม 2560}}
* {{อ้างหนังสือ| ชื่อหนังสือ = ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๕ พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)| URL = https://ia601301.us.archive.org/20/items/anupongchaiwong_gmail_50_201508/ประชุมพงศาวดารกรุงธนบุรี%20%2865%29.pdf| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์เดลิเมล์| ปี = 2480| จำนวนหน้า = 196| หน้า = ง-ฉ}} [พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพนายพันเอก พระยาสิริจุลเสวก (พัว จุลเสวก)]
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554 | ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี| URL = | จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พ.ศ. 2549| ISBN = 974-221-818-8| หน้า = 31| จำนวนหน้า = 360}}
{{จบอ้างอิง}}
เส้น 135 ⟶ 136:
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์]]<br> ([[กรุงธนบุรี]])
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|เจ้าฟ้าฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2346
เส้น 151 ⟶ 152:
[[หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงธนบุรี]]
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่ 1|ส]]