ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมบูรณาญาสิทธิราชย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 18:
 
ในทัศนะของ [[นครินทร์ เมฆไตรรัตน์]] อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็นว่าระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ของไทยนั้น ไม่ได้เป็นระบอบที่มีมาแต่สมัยโบราณ แต่เพิ่งมีมาในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] เนื่องจากในรัชกาลนี้ พระองค์ทรงรวบอำนาจจากเหล่าขุนนาง ข้าราชการ ที่เคยมีอำนาจและบทบาทมาก่อนหน้านั้น มาไว้ที่ศูนย์กลางการปกครอง คือ ตัวพระองค์ และพระประยูรญาติ ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงดำรงสถานะเป็นทั้งประมุขของรัฐและประมุขของฝ่ายบริหารอย่างแท้จริง เท่ากับว่าระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ของไทยมีเพียง 3 รัชกาลเท่านั้น คือ รัชกาลที่ 5, [[รัชกาลที่ 6]] และรัชกาลที่ 7<ref>หน้า 110, ''รศ.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ เหตุแห่งการปฏิวัติสยาม ๒๔๗๕''. สัมภาษณ์. นิตยสารสารคดี "๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕" ฉบับที่ ๑๗๒: มิถุนายน ๒๕๔๒</ref>
 
===การสิ้นสุดระบอบ===
เมื่อมีการปฏิวัติยึดอำนาจจาก[[รัชกาลที่ 7]] และ[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|เปลี่ยนแปลงการปกครอง]]จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบ[[ประชาธิปไตย]]ในวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2475]] แล้ว ในทาง[[นิตินัย]] พระราชอำนาจที่เคยมีมาอย่างล้นพ้นมิได้ถูกจำกัดลงให้อยู่ในกรอบของรัฐธรรมนูญ เรียกขานกันต่อมาว่า " ราชาธิปไตย " ผู้ให้คำๆ จำกัดความโดย พลตำรวจเอก วิศิษฐ์ เดชกุญชร<ref name="amorn" />
 
== คำศัพท์ ==