ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 8044094 สร้างโดย 101.108.105.240 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล ขุนนาง
| name = เจ้าไชยสงคราม <br/>(สมพมิตร ณ เชียงใหม่)
| image = เจ้าไชยสงครามสมพมิตร.jpg
| caption = เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) ปฏิบัติหน้าที่ควาญช้างพระที่นั่ง
| titlessuccession = ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัดเจ้าไชยสงคราม เมืองนครเชียงใหม่<ref name="ข่าวตาย"/>
| cor-type = แต่งตั้ง
| birth_date = [[พ.ศ. 2408]]
| coronation = 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2449
| birth_place =
| succession2 = ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่<ref name="ข่าวตาย"/>
| death_date = [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2474]]
| cor-type2 = แต่งตั้ง
| death_place =
| coronation2 = พ.ศ. 2465
| birth_style = เกิด
| birth_date = [[พ.ศ. 2408]]
| death_style = ถึงแก่กรรม
| death_date = [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2474]]
| father-type = เจ้าบิดา
| father = เจ้าน้อยรศ ณ เชียงใหม่
| mother-type = เจ้ามารดา
| mother = เจ้าเอื้องผึ้ง ณ เชียงใหม่
| wife = เจ้าศรีนวล ณ เชียงใหม่<br/>หม่อมคำใส ณ เชียงใหม่<br>หม่อมอุษา ณ เชียงใหม่
| husband =
| children =
| work =
| wikilinks =
}}
'''นายพันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม''' หรือ '''เจ้าไชยสงคราม''' หรือนามเดิม '''เจ้าสมพมิตร ณ เชียงใหม่''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Chao Chaisongkhram.png|200px]]}}) ([[พ.ศ. 2403]]-[[พ.ศ. 2473]]) เจ้านายฝ่ายเหนือ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจ[[มณฑลพายัพ]] สืบสายโลหิตจาก [[พระยาธรรมลังกา|พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา พระเจ้านครเชียงใหม่]] ผู้จับดาบตะลุยทั่วสิบทิศ เพื่อความสงบสุขของมหาชนชาวนครเชียงใหม่ เป็นเจ้านายมือปราบนาม เจ้าไชยสงคราม ซึ่งโจรผู้ร้ายสยองเพียงได้ยินชื่อ
 
== พระประวัติ ==
'''เจ้าไชยสงคราม''' หรือ '''เจ้าสมพมิตร ณ เชียงใหม่''' <ref>[http://www.thainews70.com/news/news-culture-arnu/view.php?topic=78 ย่านท่าแพ]</ref><ref>[http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์ , นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''.]</ref><ref name="ข่าวตาย">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/D/1889_1.PDF ข่าวตาย], เล่ม ๔๘, ตอน ง, ๓๐ สิงหาคม ๒๔๗๔, หน้า ๑๘๙๒-๓</ref> เกิดปี พ.ศ. 2408 เป็นโอรสใน เจ้าน้อยรศ ณ เชียงใหม่ (โอรสใน เจ้าอุปราช (หน่อคำ ณ เชียงใหม่), เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ และ เจ้าหญิงบุนนาค) กับ เจ้าเอื้องผึ้ง ณ เชียงใหม่
 
เจ้าไชยสงคราม สืบเชื้อสายโดยตรงจาก [[พระยาธรรมลังกา|พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา,]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 2]] และ [[พระยาคำฟั่น|เจ้าหลวงเสษฐีคำฟั่น,]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 3]] และมีศักดิ์เป็นราชปนัดดา (เหลน-ปู่ทวด) ใน [[พระเจ้ามโหตรประเทศ|พระเจ้ามโหตรประเทศ,]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 5]]
 
== ประวัติการรับราชการ ==
เส้น 26 ⟶ 30:
* พ.ศ. 2446 - รับพระราชทานสัญญาบัตรยศนายร้อยตำรวจเอก ตำแหน่งผู้บังคับกองตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่
* พ.ศ. 2449 - เลื่อนยศเป็นนายพันตำรวจตรี
* พ.ศ. 2449 - รับพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์เป็น '''เจ้าไชยสงคราม เมืองนครเชียงใหม่''' <ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2449/007/130_2.PDF ส่งสัญญาบัตร์ขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม ๒๓, ๑๓ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๕, หน้า ๑๓๑</ref>
* พ.ศ. 2451 - ดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดลำพูน
* พ.ศ. 2454 - เลื่อนยศเป็นนายพันตำรวจโท
เส้น 36 ⟶ 40:
 
== การปฏิบัติภารกิจ ==
เจ้าไชยสงคราม ได้รับฉายาว่าเป็น "มือปราบแห่งเวียงพิงค์" เป็นเจ้านายผู้มีบทบาทสำคัญในการปราบปรามโจรผู้ร้ายในมณฑลฝ่ายเหนือและรับราชการสนองพระเดชพระคุณถวายความปลอดภัยแก่ [[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์|เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์,]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8]] และ [[เจ้าแก้วนวรัฐ|เจ้าแก้วนวรัฐ,]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9]] ตลอดสองรัชสมัย
 
เจ้าไชยสงคราม ได้รับความไว้วางพระทัยจาก [[เจ้าแก้วนวรัฐ]] และ[[เจ้านายฝ่ายเหนือ]] ให้ปฏิบัติหน้าที่[[ควาญช้าง|ควาญช้างพระที่นั่ง]]และถวายความปลอดภัยแก่[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]และ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] ในคราวเสด็จพระราชดำเนินประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือ และจากการปฏิบัติภารกิจรับใช้สนองเบื้องพระยุคลบาทดังกล่าว เป็นที่ต้องพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวยิ่งนัก ต่อมาจึงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ รับโอรสของเจ้าไชยสงคราม ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้ได้รับการศึกษาในกรุงเทพมหานคร โดยโปรดฯ ให้พำนักใน[[วังศุโขทัย]]
 
เจ้าไชยสงคราม เคยได้เข้าเฝ้าถวายเครื่องบรรณาการ พร้อมกับ [[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์|เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8]] พร้อมกับ เจ้าราชภาคินัย [[เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)|เจ้าน้อยเลาแก้ว]] เจ้าน้อยเมืองชื่น และเจ้าน้อยวุฒิวงษ์ ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2447 <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/028/478_2.PDF เจ้าประเทศราชเฝ้าถวายเครื่องราชบรรณาการ เจ้านครเชียงใหม่ เฝ้าถวายต้นไม้ทองเงินเครื่องราชบรรณาการ]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 21 ตอนที่ 28 วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2447 </ref> ตามราชประเพณีที่ประเทศราชต้องส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทอง และเครื่องราชบรรณาการไปยังกรุงเทพฯ ทุกๆ 3 ปี หรือทุกปี เพื่อแสดงความสวามิภักดิ์และการยอมเป็นเมืองขึ้น ซึ่งนับเป็นการถวายเครื่องราชบรรณาการครั้งสุดท้าย <ref>[http://emuseum.treasury.go.th/article/238-goldtree-a-sivertree.html ต้นไม้ทอง ต้นไม้เงินสมัยรัตนโกสินทร์]จาก ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ</ref><ref>วรชาติ มีชูบท, ''เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมียะ'', กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, หน้า 35</ref>
 
เจ้าไชยสงคราม ป่วยเป็นลม ถึงแก่อนิจกรรมกรรม เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 สิริอายุได้ 66 ปี <ref name="ข่าวตาย"/>
 
== ครอบครัว ==
เส้น 58 ⟶ 62:
# เจ้าน้อยอินทร์ ณ เชียงใหม่
# เจ้าน้อยหมอก ณ เชียงใหม่
# เจ้าจันทร์ทิพย์ ระมิงค์วงศ์ เป็นเจ้ายายของ [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]] และ [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] อดีตนายกรัฐมนตรี
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
* [[พ{{บ.. |2454]] - [[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - 5th Class}} (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎสยาม]] สมัยนั้นเรียกว่าชั้น 5 วิจิตราภรณ์ )<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/2379.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์], เล่ม ๒๘, วันที่ ๒๘ มกราคม ๒๔๕๔, หน้า ๒๓๘๕</ref>
{{จ.ม.}}
{{จ.ช.}}
 
==ราชตระกูล==
เส้น 79 ⟶ 85:
|4= เจ้าอุปราช (หน่อคำ)
|5= เจ้าบุนนาค
|6= [[เจ้าพระยาอุปราช (พิมพิสาร)]]
|7=
|8= [[พระยาธรรมลังกา]]
เส้น 89 ⟶ 95:
|14=
|15=
|16= [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|17= แม่เจ้าจันทาราชเทวี
|18=
เส้น 96 ⟶ 102:
|22=
|23=
|24= [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|25= แม่เจ้าจันทาราชเทวี
|26=