ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทกูงาวะ อิเอยาซุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โทะกุงะวะ" → "โทกูงาวะ" +แทนที่ "อิเอะยะซุ" → "อิเอยาซุ" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โทะโยะโตะมิ" → "โทโยโตมิ" +แทนที่ "ฮิเดะโยะชิ" → "ฮิเดโยชิ" +แทนที่ "เอะโดะ" → "เอโดะ" +แทนที่ "มะสึไดระ" → "มัตสึไดระ" +แทนที่ "ฮิเดะตะดะ" → "ฮิเดตาดะ" +แทนที่ "โอะกะซะกิ" → "โอกาซากิ" +แทนที่ "ตะดะ" → "ตาดะ" +แทนที่ "ฮิโระตาดะ" → "ฮิโรตาดะ" +แทนที่ "คะตะ" → "คาตะ" +แทนที่ "มิกะวะ" → "มิกาวะ" +แทนที่ "ทะเกะชิโยะ" → "ทาเกชิโยะ" +แทนที่ "อิมะงะวะ" → "อิมางาวะ" +แทนที่ "โอะดะ" → "โอดะ" +แทนที่ "โนะบุฮิเดะ" → "โนบูฮิเดะ" +แทนที่ "โยะชิโมะโตะ" → "โยชิโมโตะ" +แทนที่ "อุจิซะเ...
บรรทัด 11:
|reign-type1 = ระยะเวลา
|ระยะเวลา = ไม่ถึงปี
|ก่อนหน้า = [[โทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ]]
|ถัดไป = ว่างจนถึงปี 2252
|succession1 = [[โชกุน|ปฐมโชกุนแห่งเอะโดะเอโดะ]]
|จักรพรรดิ1 = [[จักรพรรดิโกะ-โยเซ]]
|ดำรงตำแหน่ง1 = ค.ศ. 1603–1605
|ระยะเวลา1= 2 ปี
| ก่อนหน้า1 = ตำแหน่งใหม่
|ถัดไป1 =[[โทกูงาวะ ฮิเดะตะดะเดตาดะ]]
| บุตร-ธิดา =[[มะสึไดระมัตสึไดระ โนะบุยะซุโนบุยะซุ]]<br />ท่านหญิงคะโมะ<br />[[ยูกิ ฮิเดะยะซุเดยาซุ]]<br />ท่านหญิงโทะกุ<br />[[โทกูงาวะ ฮิเดะตะดะเดตาดะ]]<br />อื่นๆ
| เกิด ={{birth date|1543|01|31|df=y}}
|สถานที่เกิด = [[ปราสาทโอะกะซะกิโอกาซากิ]]
| อสัญกรรม =[[1 มิถุนายน]] ค.ศ. 1616 ({{อายุปีและวัน|2086|1|31|2159|6|1}})
|สถานที่ = [[ปราสาทซุมปุ]]
| บิดา = [[มะสึไดระมัตสึไดระ ฮิโระตะดะโรตาดะ]]
|มารดา = โอได โนะ คะคาตะ
| มิได =ไซโก โนะ สึโบเนะ
|ตระกูล = [[โทกูงาวะ]]
}}
 
'''โทกูงาวะ อิเอยาซุ''' ({{ญี่ปุ่น|徳川家康|Tokugawa Ieyasu}}) คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมือง[[เอะโดะเอโดะ]] (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็น[[โชกุน]]คนแรกจาก[[ตระกูลโทกูงาวะ]]ที่ปกครอง[[ประเทศญี่ปุ่น]] ตั้งแต่สิ้นสุด [[ศึกเซะกิงะฮะระ]]และเริ่มต้น[[ยุคเอะโดะเอโดะ]] เมื่อปี ค.ศ. 1600 กระทั่งเริ่ม [[ยุคเมจิ]] เมื่อปี ค.ศ. 1868
 
อิเอยาซุได้รับการแต่งตั้งเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 และออกจากตำแหน่งในอีกสองปีต่อมา แต่เขาก็ยังมีอิทธิพลเรื่อยมากระทั่งเขาเสียชีวิตลงเมื่อปี ค.ศ. 1616
บรรทัด 37:
 
==ปฐมวัย==
[[ไฟล์:Provinces of Japan-Mikawa.svg|thumb|180px|แคว้นมิกะวะกาวะ]]
โทกูงาวะ อิเอยาซุ เกิดในค.ศ. 1542 ที่ปราสาทโอะกะซะกิ (岡崎城)โอกาซากิ ในแคว้นมิกะวะกาวะ (三河) [[จังหวัดไอจิ]]ในปัจจุบัน) มีชื่อเกิดว่า '''ทะเกะทาเกชิโยะ''' (竹千代) อันเป็นชื่อบังคับของบุตรชายคนแรกของตระกูลมะสึไดระมัตสึไดระ เป็นบุตรชายคนแรกของ มะสึไดระมัตสึไดระ ฮิโระตะดะโรตาดะ (松平広忠) ''ไดเมียว''แห่งแคว้นมิกะวะกาวะ และนางโอะได (於大の方) บุตรสาวของ''ไดเมียว''แคว้นข้างเคียง สองปีต่อมาในค.ศ. 1544 นางโอะไดมารดาของทะเกะทาเกชิโยะได้หย่าขาดจากฮิโระตะโรตาดะผู้เป็นบิดาและกลับไปยังแคว้นเดิมของตน
 
ในช่วงกลางศตวรรษที่สิบหก สองตระกูลได้แก่ ตระกูลโอะดะโอดะ (織田) และตระกูลอิมะงะวะอิมางาวะ (Imagawa, 今川) ได้แข่งขันกันขึ้นมามีอำนาจในแถบ[[คันไซ]] ตระกูลเล็กอย่างตระกูลมะสึมัตสึไดระจึงต้องเข้าสักฝ่ายหนึ่ง ในค.ศ. 1548 โอะดะโอดะ โนะบุฮิเดะโนบูฮิเดะ (織田信秀) ได้เข้ารุกรานแคว้นมิกะวะกาวะ ทำให้ฮิโระตะโรตาดะตัดสินใจนำตระกูลมะสึมัตสึไดระเข้าสวามิภักดิ์ต่อตระกูลอิมะงะอิมางาวะซึ่งนำโดย [[อิมะงะวะอิมางาวะ โยะชิโมะโตะโยชิโมโตะ]] (今川義元) โดยส่งบุตรชายคือทะเกะทาเกชิโยะอายุเพียงหกปีไปเป็นตัวประกันที่ปราสาทซุมปุ ( 駿府) ในเมือง[[ชิซุโอะกะซูโอกะ]] [[จังหวัดชิซุโอะกะ]]ในปัจจุบัน อันเป็นฐานที่มั่นของตระกูลอิมะงะวะอิมางาวะ ในค.ศ. 1549 ฮิโระตะโรตาดะผู้เป็นบิดาได้เสียชีวิตลง ทะเกะทาเกชิโยะจึงต้องสืบทอดตำแหน่งไดเมียวแห่งมิกะวะกาวะ และผู้นำตระกูลมะสึไดระมัตสึไดระ ทั้งที่อายุเพียงเจ็ดปีเท่านั้น และต้องเป็นตัวประกันอยู่ที่ปราสาทซุมปุ
 
ในค.ศ. 1556 ทะเกะทาเกชิโยะได้เข้าพิธี ''เง็มปุกุ'' และได้แต่งงานกับนางซึกิยะมะสึกิยามะ (築山殿) หลานสาวของอิมะงะวะอิมางาวะ โยะชิโมะโตะโยชิโมโตะ พร้อมทั้งได้รับชื่อของผู้ใหญ่ว่า '''มะสึไดระมัตสึไดระ โมะโตะยะซุ''' (松平元康) และได้รับการปล่อยตัวให้กลับไปยังปราสาทโอะกะซะกิโอกาซากิเพื่อปกครองแคว้นมิกะวะกาวะต่อไปในฐานะข้ารับใช้ของตระกูลอิมะงะวะอิมางาวะ โมะโตะยะซุจับศึกครั้งแรกมีหน้าที่ส่งเสบียงเมื่อคราวที่[[โอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ]] (織田信長) ยกทัพเข้าล้อมปราสาทเทะระเบะ (寺部城) ในค.ศ. 1558 แต่ถูกทัพของโนะบุนะงะโนบูนางะตีแตกไป ปรากฏว่าในค.ศ. 1560 อิมะงะวะอิมางาวะ โยะชิโมะโตะโยชิโมโตะ ได้ถูกทัพของโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะสังหารไปใน[[ยุทธการโอะเกะฮะซะมะ]] (Okehazama-no-tatakai, 桶狭間の戦い)
 
==สมัยของโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ==
เมื่ออิมะงะวะอิมางาวะ โยะชิโมะโตะโยชิโมโตะ เสียชีวิตไปนั้นทำให้อำนาจของตระกูลอิมะงะอิมางาวะเสื่อมลง โมะโตะยะซุจึงผันตนเองเปลี่ยนฝ่ายย้ายไปเป็นข้ารับใช้ของ[[โอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ]] โดยในค.ศ. 1563 ได้ให้บุตรชายของตนคือ มะสึไดระมัตสึไดระ โนะบุยะซุโนบุยะซุ (松平信康) แต่งงานกับท่านหญิงโทะกุ (徳姫) บุตรสาวของโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ ในค.ศ. 1564 โมะโตะยะซุได้ทำการปรามปรามกองทัพพระสงฆ์นักรบที่เรียกว่า อิกโก-อิกกิ (一向一揆) ในแคว้นมิกะวะกาวะ ซึ่งเป็นกลุ่มของพระสงฆ์และชาวบ้านที่ยึดมั่นในพระพุทธศาสนามหายานนิกายแดนบริสุทธิ์และต่อต้านการปกครองของซะมุไร ในยุทธการอะซุกิซะกะอาซูกิซากะ (小豆坂の戦い) ในค.ศ. 1567 โมะโตะยะซุได้เปลี่ยนชื่อและชื่อตระกูลของตนเองเป็น '''โทกูงาวะ อิเอยาซุ''' ในค.ศ. 1569 ได้เอาชนะอิมะงะวะอิมางาวะ อุจิซะซาเนะ (今川氏真) บุตรชายของอิมะงะวะอิมางาวะ โยะชิโมะโตะโยชิโมโตะ ในการล้อมปราสาทคะเกะงะวะ และในค.ศ. 1570 ได้ร่วมกับโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะในการต่อสู้กับตระกูลอะซะอิไซ (浅井) และอะซะกุอาซากูระ (朝倉) ในยุทธการอะเนะงะวะอาเนงาวะ (姉川の戦い) ซึ่งชัยชนะในครั้งนี้ทำให้โอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ มีอำนาจเหนือแถบคันไซอย่างสมบูรณ์
 
===สงครามกับตระกูลทะเกะทาเกดะ===
เมื่อรวบรวมอำนาจในแถบคันไซได้อย่างเป็นปึกแผ่นแล้ว โอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ ได้เบนความสนใจไปยังแถบ[[คันโต]]ในทางตะวันออก ซึ่งในขณะนั้นตระกูลทะเกะทาเกดะ (武田) กำลังเรืองอำนาจ มี[[ทะเกะทาเกดะ ชิงเง็นเง็ง]] (武田信玄) และทะเกะทาเกดะ กะสึโยะริคัตสึโยริ (武田勝頼) บุตรชาย เป็นผู้นำ ในค.ศ. 1572 ทะเคะดะทาเกดะ ชิงเง็นเง็ง ได้ยกทัพเข้าบุกแคว้นโทโตมิ (遠江) อันเป็นดินแดนของตระกูลโทกูงาวะ ในยุทธการมิกะตะงะฮะระ (三方ヶ原の戦い) จังหวัดชิซุโอะซูโอกะในปัจจุบัน แม้จะได้รับกำลังเสริมจากโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ แต่การสู้รบในครั้งนี้เป็นความพ่ายแพ้ครั้งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอิเอยาซุ จนต้องหลบหนีออกจากสมรภูมิพร้อมกำลังพลเพียงหยิบมือ แต่โชคดีที่ในปีต่อทะเกะทาเกดะ ชิงเง็นเง็ง ได้เสียชีวิตลงในค.ศ. 1573 ในค.ศ. 1575 กะสึโยะคัตสึโยริบุตรชายได้ยกทัพมาล้อมปราสาทนะงะชิโนะ (長篠) ในแคว้นมิกะวะกาวะ ([[จังหวัดไอจิ]]ในปัจจุบัน) ซึ่งดูแลป้องกันโดยโอะกุโอกูไดระ ซะดะมะซาดามาซะ (奥平貞昌) ทั้งอิเอยาซุและโอะดะอิเอยาซุและโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะต่างส่งทัพของตนเข้ากอบกู้ปราสาทอย่างเต็มที่ จนกระทั่งประสบชัยชนะสามารถขับทัพของตระกูลทะเกะทาเกดะออกไปได้
 
กล่าวถึงนางซึกิยะมะสึกิยามะ ภรรยาของอิเอยาซุ มักจะมีปัญหาขัดแย้งกับลูกสะใภ้อยู่เสมอ คือท่านหญิงโทะกุ ภรรยาของโนะบุยะซุโนบุยะซุ จนกระทั่งในปี 1579 ท่านหญิงโทะกุทนไม่ได้จึงเขียนจดหมายฟ้องโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ บิดาของตน ว่านางซึกิยะมะสึกิยามะ ซึ่งเป็นคนจากตระกูลอิมะงะวะอิมางาวะ ได้ติดต่อและสมคบคิดกับทะเคะดะทาเกดะ กะสึโยะริคัตสึโยริ ในการทรยศหักหลังท่านโอดะ เมื่อทราบเรื่องอิเอยาซุได้มีคำสั่งให้กักขังนางสึกิยะมะยามะภรรยาเอกของตนไว้ ต่อมาไม่นานจึงมีคำสั่งจากโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ ให้โนะบุยะซุโนบุยะซุ บุตรชายคนโตของอิเอยาซุ กระทำการ''เซ็ปปุกุ'' และประหารชีวิตนางสึกิยะมะสึกิยามะ ในข้อหาทรยศสมคบคิดกับตระกูลทะเกะทาเกดะ อิเอยาซุจึงจำต้องสั่งประหารชีวิตภรรยาและบุตรชายของตนไป แต่ในปีเดียวกันนั้นเอง นางไซโง (西郷の局) ภรรยาน้อยคนโปรดของอิเอยาซุ ได้ให้กำเนิดบุตรชายคนที่สาม คือ นะกะมะนากามารุ หรือภายหลังคือ [[โทกูงาวะ ฮิเดะตะดะเดตาดะ]] (徳川秀忠)
 
ในค.ศ. 1582 ทัพผสมของตระกูลโอดะและตระกูลโทกูงาวะ เอาชนะทัพของทะเกะทาเกดะ คะซึโยะริได้คัตสึโยริได้ ในยุทธการเท็มโมะกุซัน (天目山の戦い) ([[จังหวัดยะมะนะยามานาชิ]]ในปัจจุบัน) คะซึโยะคัตสึโยริได้กระทำการ''เซ็ปปุกุ''หลังจากที่พ่ายแพ้ เป็นอวสานของตระกูลทะเกะทาเกดะ
 
==สมัยของโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ==
ในค.ศ. 1582 โอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ ถูกลอบสังหารที่วัดฮนโน (Honnō-ji, 本能寺) โดย[[อะเกะชิอาเกจิ มิสึฮิเดะตสึฮิเดะ]] (明智光秀) ในเวลานั้นอิเอยาซุพำนักอยู่ที่บริเวณใกล้กับเมือง[[โอซะซากะ]]ในปัจจุบัน พร้อมกับกำลังพลเพียงน้อยนิด เกรงว่าตนจะถูกลอบสังหารจึงได้เดินทางอย่างหลบซ่อนกลับไปยังปราสาทโอะกะซะกิโอกาซากิ เมื่อถึงแคว้นของตนแล้วก็ได้ทราบข่าวว่า ฮะชิฮาจิบะ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ (羽柴秀吉 ภายหลังคือ [[โทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ]]) ได้ทำการสังหารอะเกะจิอาเกจิ มิสึฮิเดะตสึฮิเดะ ไปเสียแล้ว และได้ทำการยึดอำนาจเพื่อขึ้นปกครองญี่ปุ่น แต่อิเอยาซุในฐานะที่เป็นข้ารับใช้คนสำคัญของโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ และมีกำลังพลมาก ยังเป็นอุปสรรคขัดขวางการเถลิงอำนาจของฮะชิฮาจิบะ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ จนกระทั่งเมื่อโอดะ โนะบุกะสึโนบุกะสึ (織田信雄) บุตรชายคนที่สองของโอะดะโอดะ โนะบุนะงะโนบูนางะ ซึ่งไม่พอใจการยึดอำนาจของฮิเดะโยะเดโยชิและต้องการที่จะสืบทอดตระกูลโอดะ จึงได้มาขอความช่วยเหลือจากอิเอยาซุ ไดเมียวผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสองจึงสู้รบกันใน[[ยุทธการโคะมะกิและนะงะกุเตะ]] (小牧・長久手の戦い) ในค.ศ. 1584 แต่ไม่ปรากฏมีผู้แพ้ชนะเสียทีทั้งสองฝ่ายจึงเจรจาสงบศึก โดยที่ตระกูลโทกูงาวะยอมที่จะเป็นพันธมิตรของฮิเดะโยะชิเดโยชิ และฮิเดะโยะเดโยชิได้ส่งน้องสาวของตนคือ ท่านหญิงอะซะฮีอาซาฮิ (朝日姫) มาเป็นภรรยาเอกคนใหม่ของอิเอยาซุ
 
ทั้งโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ และโทกูงาวะ อิเอยาซุ ต่างหวาดระแวงกันตลอดมา โดยเฉพาะในคราวสงครามกับตระกูลโฮโจ (Hōjō, 北条) ในค.ศ. 1590 ในแถบคันโต อิเอยาซุได้เคยเป็นพันธมิตรกับ[[โฮโจ อุจิมะซะ]] (Hōjō Ujimasa, 北条氏政) เมื่อครั้งสงครามกับตระกูลทะเคะดะทาเกดะ และได้ยกบุตรสาวของตนคือ ท่านหญิงโทะกุ (Toku-hime, 督姫) ให้ไปแต่งงานกับโฮโจ อุจินะโอะ (Hōjō Ujinao, 北条氏直) ทายาทของโฮโจ อุจิมาซะ ฮิเดะโยะเดโยชิทราบความจริงข้อนี้เป็นอย่างดี และแม้จะขอทัพตระกูลโทกูงาวะเป็นกำลังสำคัญแต่ก็มีความหวาดระแวงอย่างมาก จึงร้องขอให้อิเอยาซุส่งบุตรชายคือ นะนากะมะมารุ มาเป็นตัวประกันที่[[ปราสาทโอซะซากะ]] [[การล้อมปราสาทโอะดะวะระโอดาวาระ]] (小田原征伐) ของตระกูลโฮโจ [[จังหวัดคะนะงะวะ]]ในปัจจุบัน จบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ และโฮโจ อุจิมะซะได้กระทำการ''เซ็ปปุกุ'' ชัยชนะในครั้งนี้ทำให้ฮิเดะโยะเดโยชิเข้าควบคุมแถบคันโตได้อย่างสมบูรณ์ หลังจากศึกในครั้งนี้ฮิเดะโยะเดโยชิได้ตอบแทนอิเอยาซุ ด้วยการขับตระกูลโทกูงาวะออกจากแคว้นมิกะวะกาวะ อันเป็นฐานที่มั่นของตระกูลโทกูงาวะมาเกือบหนึ่งร้อยปี และมอบดินแดนทางแถบคันโตอันห่างไกลและกันดารที่เคยเป็นของตระกูลโฮโจให้ปกครอง อิเอยาซุจึงได้เลือก[[ปราสาทเอะโดะเอโดะ]] เป็นฐานที่มั่นใหม่ของตระกูลโทกูงาวะ
 
อิเอยาซุยังได้หลีกเลี่ยง ที่จะส่งกองทัพของตนเข้าร่วมการรุกราน[[อาณาจักรโชซ็อน]] ([[การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135-2141)]]) ของฮิเดะโยะชิในคเดโยชิในค.ศ. 1592 เป็นรักษากำลังทหารของตนเอง ไม่ให้เสียไปกับสงครามที่ไม่คุ้มค่า
 
==ศึกเซะกิงะฮะระ==
[[ไฟล์:Sekigaharascreen.jpg|thumb|220px|ยุทธการเซะกิงะฮะระ]]
ในค.ศ. 1598 ''ไทโค'' โทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ ถึงแก่อสัญกรรมด้วยความชราภาพ เหลือบุตรชายคือ [[โทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะริ]] (豊臣秀頼) อายุเพียงห้าปี สืบทอดตระกูลโทะโยะโตะโทโยโตมิต่อมา ก่อนจะถึงแก่อสัญกรรมฮิเดะโยะเดโยชิผู้ซึ่งเกรงว่าบุตรชายของตนอายุน้อยจะถูกบรรดาไดเมียวผู้ทรงกำลังแก่งแย่งอำนาจไป ถึงได้แต่งตั้งให้ไดเมียวที่มีกำลังมากที่สุดจำนวนห้าคนเป็น ผู้อาวุโสทั้งห้า หรือ ''โกะไทโร'' (五大老) เป็นผู้สำเร็จราชการแทน ประกอบด้วย โทกูงาวะ อิเอยาซุ, [[มะเอะดะมาเอดะ โทะชิอิเอะโทชิอิเอะ]] (前田利家), [[โมริ เทะรุโมะโตะเทรูโมโตะ]] (毛利輝元), อุเอะซุงิอูเอซูงิ คะงะกะสึคางากัตสึ (上杉景勝) และอุกิตะ ฮิเดะอิเอะเดอิเอะ (宇喜多秀家) และฮิเดะโยะเดโยชิยังให้''โงะไทโร''กระทำการสัตย์สาบานว่าจะคอยช่วยเหลือฮิเดะโยะริบุตรชายของตนจนกว่าจะเติบใหญ่
 
อย่างไรก็ตามเมื่อ''ไทโค''ฮิเดะโยะเดโยชิถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว เกิดความระแวงสงสัยและการคาดการณ์ว่าอิเอยาซุจะยึดอำนาจขึ้นเป็นผู้ปกครองญี่ปุ่นเสียเอง จึงเกิดกลุ่มขุนนางตระกูลโทะโยะโตะโทโยโตมิที่ต่อต้านอำนาจของอิเอยาซุ นำโดย[[อิชิดะ มิสึนะริตสึนาริ]] (Ishida Mitsunari, 石田三成) คนรับใช้คนสนิทของ''ไทโค''ฮิเดะโยะชิเดโยชิ ฝ่ายอิเอยาซุไม่รอช้าได้จัดเตรียมเสาะแสวงหาพันธมิตรต่างๆไว้ล่วงหน้าก่อนแล้ว ในค.ศ. 1599 มะเอะดะมาเอดะ โทะชิอิเอะโทชิอิเอะ ขุนนางที่อาวุโสที่สุดใน''โงะไทโร''ซึ่งคอยเป็นผู้ไกล่เกลี่ยได้ถึงแก่อสัญกรรมลง ทำให้บรรดาขุนนางซะมุไรในญี่ปุ่นแบ่งออกเป็นสองฝ่ายอย่างชัดเจน คือ
 
*ฝ่ายของมิสึนะริตสึนาริ ประกอบด้วยไดเมียวจากทางตะวันตกของญี่ปุ่นเป็นส่วนใหญ่ จึงเรียกว่า ฝ่ายทัพตะวันตก (西軍 ''ไซงุง'') ได้แก่ อิชิดะ มิสึนะริตสึนาริ, โมริ เทะรุโมะโตะเทรูโมโตะ, อุเอะซุงิอูเอซูงิ คะงะกะสึคางากัตสึ, อุกิตะ ฮิเดะอิอะเดอิเอะ, ฯลฯ
*ฝ่ายของอิเอยาซุ ประกอบด้วยไดเมียวจากทางตะวันออกของญี่ปุ่นเป็นส่วนใหญ่ จึงเรียกว่า ฝ่ายทัพตะวันออก (東軍 ''โทงุง'')
{{main|ยุทธการเซะกิงะฮะระ}}
ในค.ศ. 1600 อุเอะซุงิอูเอซูงิ คะงะกะสึคางากัตสึ ได้แสดงความกระด้างกระเดื่องต่ออิเอยาซุอย่างชัดเจน โดยการซะสมกำลังพลและสร้างป้อมปราการโดยไม่ได้รับอนุญาต อิเอยาซุจึงยกทัพหมายจะปราบตระกูลอุเอะซุงิอูเอซูงิ แต่ในเวลาเดียวกันนั้นเองได้ทราบข่าวว่ามิสึนะตสึนาริมีความเคลื่อนไหวในแถบคันไซ ยึดปราสาทฟุฟูชิมิ ในนคร[[เคียวโตะเกียวโต]]อันเป็นศูนย์การปกครองของโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ทำให้อิเอยาซุเปลี่ยนใจยกทัพไปทางตะวันตกเพื่อเข้ายึดปราสาทโอซะซากะอันเป็นที่อยู่ของโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะริ โดยอิเอยาซุเดินทัพมาตามเส้นทางโทไก (東海道) เลียบมาตามชายฝั่งทางด้านใต้ของเกาะ[[ฮอนชู]] และให้ฮิเดะตะเดตาดะทายาทของตนเดินทัพไปตามเส้นทางนะนากะเซ็น (Nakasen-dō, 中山道) เพื่อไปสมทบกันที่โอซะซากะ แต่มิสึนะตสึนาริทราบข่าวการยกทัพของอิเอยาซุ จึงได้ยกทัพออกจากเคียวโตะเกียวโตมาพบกับทัพของอิเอยาซุที่ทุ่งเซะกิงะฮะระ (関ヶ原) ใน[[จังหวัดกิฟุ]]ในปัจจุบัน
 
ในสมรภูมิ อิเอยาซุได้เกลี้ยกล่อมให้ขุนพลฝ่ายทัพตะวันตกคนหนึ่ง ชื่อว่า โคะบะยะกะวะโคบายากาวะ ฮิเดะอะกิเดอากิ (小早川秀秋) ทรยศเปลี่ยนฝ่ายมาเข้ากับฝ่ายตะวันออก ทำให้ทัพฝ่ายตะวันตกต้องพ่ายแพ้ในการรบที่เซะกิงะฮะระ อิชิดะ มิสึนะริตสึนาริ ถูกจับกุมตัวได้และถูกประหารชีวิต
 
ยุทธการเซะกิงะฮะระเป็นยุทธการที่มีความสำคัญที่สุด และเป็นการสู้รบระหว่างซะมุไรอย่างมหึมาครั้งสุดท้าย ใน[[ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น]] ชัยชนะยุทธการเซะกิงะฮะระ มีอำนาจเหนือญี่ปุ่นอย่างเบ็ดเสร็จ ปราศจากไดเมียวผู้ใดที่สามารถต่อต้านอำนาจ
 
==โชกุนอิเอยาซุ==
[[ไฟล์:Edo P2.jpg|thumb|200px|[[ปราสาทเอะโดะเอโดะ]] ปัจจุบันคือพระราชวังอิมพีเรียล]]
เนื่องจากโทกูงาวะ อิเอยาซุ สามารถอ้างการสืบเชื้อสายไปถึงตระกูลมินะโมะโตะนาโมโตะของพระจักรพรรดิเซวะ หรือ เซวะ เก็นจิ (清和源氏) ได้ จึงเข้าข่ายมีสิทธิ์สามารถดำรงตำแหน่งโชกุนได้ ในค.ศ. 1603 โทกูงาวะ อิเอยาซุ จึงได้รับการแต่งตั้งจากราชสำนักเคียวโตะเกียวโต ให้ดำรงตำแหน่งเซอิไทโชกุน (征夷大将軍) เป็นปฐมโชกุนแห่งตระกูลโทกูงาวะ หรือ[[เอะโดะบะกุฟุเอโดะบะกุฟุ]] (江戸幕府) อันจะปกครองประเทศญี่ปุ่นไปอีกประมาณสองร้อยห้าสิบปี โดยมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่นครเอะโดะเอโดะหรือโตเกียวในปัจจุบัน
 
อิเอยาซุได้อ้างอำนาจการปกครองเหนือไดเมียวทั้งหมดที่เหลืออยู่ในญี่ปุ่น โดยให้ไดเมียวเหล่านั้นมากระทำสัตย์สาบาทเป็นข้ารับใช้ของบะกุฟุ โดยอิเอยาซุได้จำแนกไดเมียวออกเป็นสองกลุ่ม ได้แก่ ไดเมียว''ฟุได'' (Fudai, 譜代) คือไดเมียวที่เป็นข้ารับใช้เก่าแก่ของตระกูลโทกูงาวะมาแต่สมัยเซ็งโงะกุ หรือตระกูลที่เข้ามาเป็นข้ารับใช้ของตระกูลโทกูงาวะก่อนยุทธการเซะกิงะฮะระ และไดเมียว''โทะซะมะโทซามะ'' (外様) คือไดเมียวที่ไม่ได้เป็นข้ารับใช้ของตระกูลโทกูงาวะ หรือเข้ามาเป็นข้ารับใช้ของตระกูลโทกูงาวะหลังยุทธการเซะกิงะฮะระ โชกุนอิเอยาซุได้มอบดินแดนแคว้นๆต่างๆให้ไดเมียวเหล่านี้ไปปกครอง เรียกว่า ''ฮัน'' (藩) โดยโชกุนอิเอยาซุได้มอบ''ฮัน''ในจุดยุทธศาสตร์สำคัญให้ไดเมียวจากตระกูลโทกูงาวะหรือไดเมียว''ฟุได''ไปปกครอง ส่วนไดเมียว''โทะซะมะโทซามะ''นั้น ก็คือเจ้าครองแคว้นไดเมียวทั้งหลายในสมัยเซ็งโงะกุ ซึ่งมีอาณาเขตกว้างใหญ่อยู่ก่อนแล้ว
 
ในช่วงต้นศตวรรษที่สิบเจ็ด ได้มีชาติตะวันตกชาติใหม่มาติดต่อขอทำการค้ากับญี่ปุ่น ได้แก่ฮอลันดาและอังกฤษ ซึ่งมาถึงเมือง[[นางาซากิ]]ในค.ศ. 1600 โดยโชกุนอิเอยาซุได้ให้นาย[[วิลเลียม อดัมส์]] (William Adams) ชาวอังกฤษต่อเรือแบบตะวันตกให้แก่ญี่ปุ่นเป็นลำแรกจนสำเร็จในค.ศ. 1604 นับแต่นั้นมาโชกุนอิเอยาซุจึงอนุญาตให้พ่อค้าต่างๆล่องเรือสำเภาแบบตะวันตกไปค้าขายยังอาณาจักรต่างๆใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] เรียกว่า เรือตราแดง (朱印船) โชกุนอิเอยาซุดำเนินนโยบายเป็นมิตรกับฮอลันดาและอังกฤษ ในขณะเดียวกันก็พยายามที่จะขับไล่มิชชันนารีชาวโปรตุเกสและสเปนอันเป็นคู่แข่งการค้าของฮอลันดา ขับไล่และปราบปรามชาวคาทอลิก
 
==บั้นปลายชีวิต==
ในค.ศ. 1605 โชกุนอิเอยาซุได้สละตำแหน่งโชกุนให้แก่โทกูงาวะ ฮิเดะตะดะเดตาดะ บุตรชายที่เป็นทายาทของตน โดยที่อำนาจการปกครองที่แท้จริงยังคงอยู่ที่อิเอยาซุ เปลี่ยนมาดำรงตำแหน่งเป็น''โอโงโช'' (大御所) หรือโชกุนผู้สละตำแหน่ง และย้ายมาพำนักที่ปราสาทซุมปุ (อันเป็นปราสาทที่อิเอยาซุเคยพำนักเมื่อครั้งเป็นตัวประกันของตระกูลอิมะงะวะอิมางาวะ) โดยการยกให้โชกุนฮิเดะตะเดตาดะบริหารปกครองอยู่ที่นครเอะโดะเอโดะ ทำให้''โอโงโช''อิเอยาซุสามารถจัดการกับการค้าขายกับชาติตะวันตกได้ ในค.ศ. 1609 ''โอโงโช''อิเอยาซุออกประกาศอนุญาต ให้[[บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา]] เข้ามาตั้งสถานีการค้าที่เมืองท่า[[ฮิระโดะ]] นอกชายฝั่งเมืองท่านางาซากิ อันเป็นจุดเริ่มต้นของการค้าขายระหว่างญี่ปุ่นกับฮอลันดาไปอีกสองร้อยห้าสิบปี (ชาวฮอลันดายังคงอยู่ที่ฮิระโดะจนกระทั่งถูกย้ายออกไปที่เกาะเดะจิมะในสมัยของโชกุน[[โทกูงาวะ อิเอะมิสึ]])
 
ในค.ศ. 1614 เกิดข่าวลือว่าโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะริ บุตรชายของโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ ซึ่งได้เติบใหญ่อยู่ที่ปราสาทโอซะซากะ ได้วางแผนกับมารดาของตนคือ นาง[[โยะโดะ โดะโนะโดโนะ|โยะโดะ]] (淀殿) ซ่องซุมกำลังคนเพื่อที่จะฟื้นฟูตระกูลโทะโยะโตะโทโยโตมิให้กลับมาปกครองญี่ปุ่นอีกครั้ง ในค.ศ. 1615 โอโงโชอิเอยาซุร่วมกับโชกุนฮิเดะตะดะเดตาดะ ยกทัพขนาดมหึมาไปทำ[[การล้อมปราสาทโอซะซากะ]] ในฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว จนกระทั่งฝ่ายโทะโยะโตะโทโยโตมิพ่ายแพ้ ฮิเดะโยะริกระทำการ''เซ็ปปุกุ''เสียชีวิต โดยท่านหญิงเซ็ง (千姫) ภรรยาของฮิเดะโยะริผู้ซึ่งเป็นหลานสาวของอิเอยาซุได้รับการช่วยเหลือออกมาก่อน
 
[[ไฟล์:Gate-nikko-japan.jpg|thumb|200px|[[ศาลเจ้านิกโกโทโช]] ในจังหวัดโทชิงิ]]
บรรทัด 93:
 
==ครอบครัว==
*บิดา: มะสึไดระมัตสึไดระ ฮิโระตะดะโรตาดะ ({{nihongo2|松平広忠|Matsudaira Hirotada}} ค.ศ. 1529 - 1549)
*มารดา: นางโอะได-โนะ-กะตะ ({{nihongo2|於大の方|Odai-no-kata}} ค.ศ. 1528 - 1602)
 
*ภรรยาเอก: นางซึกิยะมะสึกิยามะ-โดะโนะโดโนะ ({{nihongo2|築山殿|Tsukiyama-dono}} ค.ศ. 1542 - 1579) บุตรสาวของเซะกิงุชิ ชิกะนะงะ ({{nihongo2|関口親永|Sekiguchi Chikanaga}})
**บุตรชายคนแรก: มะสึไดระมัตสึไดระ โนะบุยะซุโนบุยะซุ ({{nihongo2|松平信康|Matsudaira Nobuyasu}} ค.ศ. 1559 - 1579)
**บุตรสาวคนแรก: คะเมะ-ฮิเมะ ({{nihongo2|亀姫|Kame-hime}} ค.ศ. 1560 - 1625) สมรสกับ โอะกุโอกูไดระ โนะโนบุมะซะ ({{nihongo2|奥平信昌|Okudaira Nobumasa}})
*ภรรยาเอก: นางอะซะฮิ-ฮิเมะ ({{nihongo2|朝日姫|Asahi-hime}} ค.ศ. 1543 - 1590) น้องสาวของโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ
 
*ภรรยาน้อย: โคโตะกุโตกุ-โนะ-ซึโบะเนะสึโบเนะ ({{nihongo2|小督局|Kōtoku-no-Tsubone}} ค.ศ. 1548 - 1620) หรือนางโชโช-อิง ({{nihongo2|長勝院|Chōshō-in}})
**บุตรชายคนที่สอง: [[ยูกิ ฮิเดะยะซุเดยาซุ]] ({{nihongo2|結城秀康|Yūki Hideyasu}} ค.ศ. 1574 - 1607) ไปเป็นบุตรบุญธรรมของโทะโยะโตะมิโทโยโตมิ ฮิเดะโยะชิเดโยชิ และต่อมาเป็นบุตรบุญธรรมของยูกิ ฮะรุโตะโมะ ({{nihongo2|結城晴朝|Yūki Harutomo}})
*ภรรยาน้อย: ไซโง-โนะ-ซึโบะเนะสึโบเนะ ({{nihongo2|西郷局|Saigō-no-Tsubone}} ค.ศ. 1552 - 1589)
**บุตรสาวคนที่สอง: นางโทะกุ-ฮิเมะท่านหญิงโทกุ ({{nihongo2|督姫|Toku-hime}} ค.ศ. 1565 - 1615) สมรสกับ โฮโจ อุจินะโอะ ({{nihongo2|北条氏直|Hōjō Ujinao}}) และต่อมาสมรสกับอิเกะดะ เทะรุมะซะ ({{nihongo2|池田輝政|Ikeda Terumasa}})
**บุตรชายคนที่สาม: [[โทกูงาวะ ฮิเดะตะดะเดตาดะ]] (ค.ศ. 1579 - 1632) โชกุนคนที่ 2
**บุตรชายคนที่สี่: มะสึไดระมัตสึไดระ ทะดะโยะชิ ({{nihongo2|松平忠吉|Matsudaira Tadayoshi}} ค.ศ. 1580 - 1607)
*ภรรยาน้อย: นางทะเกะ (Take)
**บุตรสาวคนที่สาม: ฟุริ-ฮิเมะ ({{nihongo2|振姫|Furi-hime}} ค.ศ. 1580 - 1617) หรือ นางโชเซ-อิง ({{nihongo2|正清院|Shōsei-in}}) สมรสกับกะโม ฮิเดะยุกิ ({{nihongo2|蒲生秀行|Gamō Hideyuki}}) และต่อมาสมรสกับอะซะโนะ นะงะอะกิระ ({{nihongo2|浅野長晟|Asano Nagaakira}})
*ภรรยาน้อย: นางโอะซึมะโอสึมะ (Otsuma) หรือชิโมะยะมะโมะยามะ-โดะโนะโดโนะ ({{nihongo2|下山殿|Shimoyama-dono}} ค.ศ. 1564 - 1591)
**บุตรชายคนที่ห้า: ทะเกะทาเกดะ โนะบุโยะชิโนบูโยชิ ({{nihongo2|武田信吉|Takeda Nobuyoshi}} ค.ศ. 1583 - 1603) ไปเป็นบุตรบุญธรรมของทะเกะทาเกดะ โนะโนบุฮะรุ ({{nihongo2|武田信治|Takeda Nobuharu}})
*ภรรยาน้อย: ชะอะ-โนะ-ซึโบะเนะสึโบเนะ ({{nihongo2|茶阿局|Chaa-no-Tsubone}} ? - ค.ศ. 1621)
**บุตรชายคนที่หก: มะสึไดระมัตสึไดระ ทะดะเทะรุทาดาเตรุ ({{nihongo2|松平忠輝|Matsudaira Tadateru}} ค.ศ. 1592 - 1683)
**บุตรชายคนที่เจ็ด: มะสึไดระมัตสึไดระ มะสึชิโยะมัตสึชิโยะ ({{nihongo2|松平松千代|Matsudaira Matsuchiyo}} ค.ศ. 1594 - 1599)
*ภรรยาน้อย: นางคะเมะ (Kame) ค.ศ. 1573 - 1642
**บุตรชายคนที่แปด: มะสึไดระมัตสึไดระ เซ็งชิโยะ ({{nihongo2|松平仙千代|Matsudaira Senchiyo}} ค.ศ. 1595 - 1600)
**บุตรชายคนที่เก้า: โทกูงาวะ โยะชินะโอะ ({{nihongo2|徳川義直|Tokugawa Yoshinao}} ค.ศ. 1601 - 1650) ไดเมียวแห่งคิโยะซุ หนึ่งใน''โงะซังเกะ''
*ภรรยาน้อย: นางมัง (Man) หรือโยจูอิง ({{nihongo2|養珠院|Yōjū-in}} ค.ศ. 1580 - 1653)
**บุตรชายคนที่สิบ: โทกูงาวะ โยะริโนะบุโยะริโนบุ ({{nihongo2|徳川頼宣|Tokugawa Yorinobu}} ค.ศ. 1602 - 1671) ไดเมียวแห่งคิอิ หนึ่งใน''โงะซังเกะ'' เป็นปู่ของ[[โทกูงาวะ โยะชิมุเนะ]] โชกุนคนที่ 8
**บุตรชายคนที่สิบเอ็ด: โทกูงาวะ โยะริฟุซะ ({{nihongo2|徳川頼房|Tokugawa Yorifusa}} ค.ศ. 1603 - 1661) ไดเมียวแห่งมิโตะ หนึ่งใน''โงะซังเกะ''
{{สถานีย่อย2|ประเทศญี่ปุ่น|ประวัติศาสตร์}}
บรรทัด 126:
| รูปภาพ = Tokugawa_family_crest.svg
| ก่อนหน้า= ''[[ยุคเซ็งโงะกุ]]''
| ตำแหน่ง=[[โชกุน|โชกุนแห่ง]][[รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ|เอะโดะบะกุฟุเอโดะบะกุฟุ]]
| ปี=[[ค.ศ. 1603]]-[[ค.ศ. 1605]]
| ถัดไป=[[โทกูงาวะ ฮิเดะตะดะเดตาดะ]]
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{โชกุนแห่งเอะโดะเอโดะ}}
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2086]]
[[หมวดหมู่:โชกุน]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลโทกูงาวะ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในยุคอะซุชิโมะโมะยะมะซุชิโมะโมะยามะ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะเอโดะ]]
[[หมวดหมู่:ไดเมียว|ท]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น]]