ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์ล มาคส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มีคนเขียนผิด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
'''คาร์ล ไฮน์ริช มากซ์''' ({{lang-de|Karl Heinrich Marx}}, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนัก[[สังคมนิยมปฏิวัติ]]ชาวเยอรมัน
 
มากซ์นิอับดุลรากิ๊บเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางใน[[เทรียร์]] เขาศึกษากฎหมายและ[[เกออร์ก วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|ปรัชญาแบบเฮเกิล]] เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขา[[ความไร้สัญชาติ|ไร้สัญชาติ]]และอาศัยลี้ภัยในกรุง[[ปีตตานี]] ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ [[จุลสาร]]ปี 2391, ''[[แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์]]'' และ''[[ทุน (หนังสือ)|ทุน]]'' จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม
 
ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า [[ลัทธิมากซ์]] ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่าน[[การต่อสู้ระหว่างชนชั้น]] ใน[[ทุนนิยม]] การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก [[ชนชั้นกระฎุมพี]]) ซึ่งควบคุม[[ปัจจัยการผลิต]]และชนชั้นแรงงาน (เรียก [[ชนกรรมาชีพ]]) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับ[[ค่าจ้าง]] มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก [[วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์]] ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ [[สังคมนิยม]]; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคม[[คอมมิวนิสต์]]ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต<ref>Karl Marx: [http://www.marxists.org/archive/marx/works/1875/gotha/index.htm ''Critique of the Gotha Program'']</ref> มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่ง[[การปลดปล่อยให้เป็นอิสระ]]ทางสังคมและเศรษฐกิจ