ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจียง ไคเชก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 158:
[[File:Sun Yat-sen and Chiang Kai-shek.jpg|thumb|right|เจียง ไคเชก (ยืนทางซ้าย)
และ ดร.[[ซุน ยัตเซ็น]] (นั่งทางขวา)]]
เมื่อยฺเหวียน ชื่อไข่ตั้งต้นเป็นฮ่องเต้ ประชาชนทั่วประเทศต่างพากันต่อต้านคัดค้าน อีกทั้งกลุ่มทหารที่ไม่เห็นด้วยกับการรื้อฟื้นระบอบฮ่องเต้กลับมาจึงทำการต่อสู้นำไปสู่[[สงครามพิทักษ์ชาติ]]ขึ้น จักรวรรดิจีนของยฺเหวียน ชื่อไข่ดำรงอยู่ได้เพียง 1 ในปี ใน ค.ศ. 1916 ยฺเหวียน ชื่อไข่ได้เสียชีวิตด้วยวัยชราและลงระบอบจักรพรรดิที่เขารื้อฟื้นก็สิ้นสุดลง หลังจากที่ยฺเหวียนตายบรรดาแว่นแคว้นจังหวัดต่างๆได้ประกาศตั้งตนเป็นอิสระไม่ขึ้นกับรัฐบาลกลางอีกต่อไปทำให้ประเทศจีนเข้าสู่ยุคแห่งความแตกแยกหรือยุคขุนศึกในที่สุด ที่กรุงปักกิ่ง [[รัฐบาลเป่ยหยาง|รัฐบาลขุนศึกเป่ยหยาง]]ได้สืบทอดอำนาจต่อและยังคงบริหารประเทศต่อไป เป็นรัฐบาลประชาธิปไตยจอมปลอมที่มีประธานาธิบดีที่ถูกแต่งตั้งเป็นเพียงหุ่นเชิดให้แก่กองทัพเท่านั้น
 
ในปี ค.ศ. 1917 ดร.ซุน ยัตเซ็นได้ย้ายไปตั้งฐานที่มั่นปฏิวัติที่เมือง[[กวางตุ้ง]] (ปัจจุบันคือเมืองกวางโจว) เนื่องจากเมืองกวางตุ้งมีชัยภูมิที่ดีแต่ทหารของฝ่ายพรรคปฏิวัติจีนมีกำลังพลน้อยทำให้ควบคุมพื้นที่เมืองกวางตุ้งไม่ครอบคลุม บริเวณรอบเมืองมีแต่ทหารที่จงรักภักดีต่อขุนศึกทางเหนือ ระหว่างที่ทำการต่อสู้ ทหารที่มีความสามารถของดร.ซุนถูกฆ่าตายไปหลายคน เพื่อความปลอดภัยบรรดาสมาชิกของพรรคปฏิวัติจีนแนะนำเจียง ไคเชก มาเป็นผู้ช่วยทางการทหารให้กับ ดร.ซุน ท่ามกลางความสิ้นหวัง ดร.ซุนจึงเริ่มมองเห็นความสำคัญของเจียง ไคเชกและมักจะเรียกเจียงเข้ามาปรึกษาปัญหาต่างๆ
บรรทัด 167:
 
ในปี ค.ศ. 1920 กองทัพปฏิวัติของดร.ซุนกลับคืนสู่กวางตุ้งด้วยความช่วยเหลือของทหารรับจ้างอีกครั้ง ดร.ซุนได้พยายามสร้างพันธมิตรทางทหารกับขุนศึกเจ้าเมืองและบรรดาเหล่าผู้มีอิทธิพลท้องถิ่นในกวางตุ้ง หลังจากกลับมาที่กวางตุ้งความแตกแยกที่พัฒนาขึ้นระหว่างพรรคของดร.ซุนซึ่งพยายามใช้กองทัพรวมประเทศจีนเข้าด้วยกันภายใต้[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]และ[[เฉิน เจียงหมิง]] ขุนศึกเจ้าเมืองมณฑลกวางตุ้งที่ต้องการปกครองเมืองกวางตุ้งแบบระบบศักดินาขุนศึกต่อไป จึงได้ทรยศหักหลังและวางแผนลอบสังหารดร.ซุน เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1920 [[เย่ จู]] นายพลของเฉินทำการโจมตี[[ทำเนียบประธานาธิบดีกวางตุ้ง]]<ref>{{citation |last=Chan |first=Anthony B. |title=Arming the Chinese: The Western Armaments Trade in Warlord China, 1920–1928 |publisher=UBC Press |location=Vancouver |date=2010 |p=[https://books.google.com/books?id=T6eXCgAAQBAJ&pg=PA106 106]}}</ref> ทำให้ดร.ซุนต้องหนีไปที่ลานท่าเรือ{{sfnp|Hahn|1955||p=[https://books.google.com/books?id=8VPVCQAAQBAJ&pg=PT42 42]}} และลี้ภัยโดยสารเรือ ''เอสเอส ไห่ฉี'',<ref>{{citation |last=Dreyer |first=Edward L. |url=https://books.google.com/books?id=YsWOAwAAQBAJ&printsec=frontcover |title=China at War, 1901–1941 |publisher=Routledge |location=Abingdon |date=1995 |p=[https://books.google.com/books?id=YsWOAwAAQBAJ&pg=PA104 104]}}.</ref>
ภรรยาของดร.ซุนซึ่งหนีไม่ทันและให้ดร.ซุนหลบหนีไปก่อน ได้หลบกระสุนที่ทำเนียบประธานาธิบดีกวางตุ้งและได้หนีรอดตามออกมาได้ ทั้งคู่พบกันที่[[เรือเอสเอสหยงฟาง]] ขณะนั้นเจียงไคเชกที่กำลังจัดพิธีงานศพให้แม่ของเขาที่เซี่ยงไฮ้<ref name=bdrc>{{citation |title=Biographical Dictionary of Republican China, ''Vol. III'' |at=[https://books.google.com/books?id=KWHREtBHNqYC&pg=PA322 "Chiang Kai-shek", p. 322] }}.</ref> ได้รับโทรเลขด่วนจากดร.ซุน ดังนั้นเจียงจึงพากองกำลังกองหนึ่งกระหืดกระหอบมาจากเซี่ยงไฮ้มาช่วยดร.ซุนที่กวางตุ้ง ขณะนั้นดร.ซุนใช้เรือรบเป็นกองบัญชาการสู้กับพวกกบฎของเฉิน เจียงหมิงอยู่ 50 วันเหตุการณ์ไม่มีทีท่าสงบ จนกระทั่งเจียงไคเชกยกทัพมาถึง เหตุการณ์จึงคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น ขณะที่อยู่บนเรือเจียงเป็นองครักษ์คอยปกป้องคุ้มกันดร.ซุนและได้รับความไว้วางใจเป็นมือขวาในที่สุด
===โรงเรียนการทหารหวงผู่===
[[ไฟล์:Whampoa3.jpg|250px|thumb|[[ซุน ยัดเซ็น]] (ยืนอยู่หลังโต๊ะ) และ[[เจียง ไคเช็ค]] (ยืนบนเวที สวมเครื่องแบบ) ในพิธีเปิด[[โรงเรียนนายร้อยหวงผู่]]ในปี ค.ศ.1924]]