ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจียง ไคเชก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 154:
 
==การก่อตั้งพรรคก๊กมินตั๋ง==
===การปฎิบัติการที่กวางตุ้งครั้งแรก===
[[File:Chiang Kai-shek-young.jpg|thumb|right|เจียง ไคเชก ในช่วงปี ค.ศ. 1920]]
[[File:Sun Yat-sen and Chiang Kai-shek.jpg|thumb|right|เจียง ไคเชก (ยืนทางซ้าย)
เส้น 159 ⟶ 160:
ในปี ค.ศ. 1917 ดร.ซุน ยัตเซ็นได้ย้ายไปตั้งฐานที่มั่นปฏิวัติที่เมือง[[กวางตุ้ง]] (ปัจจุบันคือเมืองกวางโจว) เนื่องจากเมืองกวางตุ้งมีชัยภูมิที่ดีแต่ทหารของฝ่ายพรรคปฏิวัติจีนมีกำลังพลน้อยทำให้ควบคุมพื้นที่เมืองกวางตุ้งไม่ครอบคลุม บริเวณรอบเมืองมีแต่ทหารที่จงรักภักดีต่อขุนศึกทางเหนือ ระหว่างที่ทำการต่อสู้ ทหารที่มีความสามารถของดร.ซุนถูกฆ่าตายไปหลายคน เพื่อความปลอดภัยบรรดาสมาชิกของพรรคปฏิวัติจีนแนะนำเจียง ไคเชก มาเป็นผู้ช่วยทางการทหารให้กับ ดร.ซุน ท่ามกลางความสิ้นหวัง ดร.ซุนจึงเริ่มมองเห็นความสำคัญของเจียง ไคเชกและมักจะเรียกเจียงเข้ามาปรึกษาปัญหาต่างๆ
 
ในเวลานี้ดร.ซุนยังคงถูกไล่ล่าและไม่มีอาวุธหรือเงินสนับสนุน เจียงแนะนำให้ดร.ซุนจ้างทหารรับจ้างซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนของแก๊งมาเฟีย ทหารพวกนี้จงรักภักดีต่อเจ้านายที่จ่ายเงินให้พวกเขาเท่านั้น ดังนั้นกองทหารของดร.ซุนจึงมีปัญหาเรื่องการเงินแทบตลอดเวลา ดร.ซุนต้องการกองทหารที่มีอุดมการณ์ เป็นทหารปฏิวัติอย่างแท้จริง ไม่ใช่แก๊งมาเฟีย แต่เจียงแย้งว่าเป็นการเปิดโอกาสให้คนอย่างเท่าเทียม ถึงแม้จะเป็นนักเลงมาเฟียก็สามารถช่วยเหลือประเทศชาติได้ และทหารที่มีอุดมการณ์ต้องบ่มเพาะและฝึกขึ้นมา ต้องใช้เวลาและงบประมาณมหาศาล ด้วยเหตุนี้จึงต้องพึ่งทหารรับจ้างไปพลางๆก่อน ดร.ซุนจึงยอมตกลงด้วย แต่อย่างไรก็ตามกองทัพปฏิวัติก็ถูกตีโต้และต้องลี้ภัยไปเซี่ยงไฮ้อีกรอบ
===การปฏิบัติการที่กวางตุ้งครั้งที่สอง===
[[รัฐบาลเป่ยหยาง|รัฐบาลขุนศึกเป่ยหยาง]]ได้สั่งต้องห้ามพรรคคณะปฏิวัติจีน เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ดร.ซุนได้ตั้งพรรคใหม่ ชื่อว่า [[ชื่อของประเทศจีน|จงกั๋ว]] [[ก๊กมินตั๋ง]] ({{zh|t=中國國民黨|s=中国国民党|p=Zhōngguó guómíndǎng}}) ซึ่งก็คือ "[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]" หรือ "จีนคณะชาติ" ขึ้น โดยมีเจียง ไคเชกได้ให้การสนับสนุนพรรคใหม่นี้อย่างแข็งขัน<ref name="chien">Ch'ien Tuan-sheng. ''The Government and Politics of China 1912–1949''. Harvard University Press, 1950; rpr. Stanford University Press. {{ISBN|0-8047-0551-8}}, {{ISBN|978-0-8047-0551-6}}. pp. 83–91.</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1920 กองทัพปฏิวัติของดร.ซุนกลับคืนสู่กวางตุ้งด้วยความช่วยเหลือของทหารรับจ้างอีกครั้ง ดร.ซุนได้พยายามสร้างพันธมิตรทางทหารกับขุนศึกเจ้าเมืองและบรรดาเหล่าผู้มีอิทธิพลท้องถิ่นในกวางตุ้ง หลังจากกลับมาที่กวางตุ้งความแตกแยกที่พัฒนาขึ้นระหว่างพรรคของดร.ซุนซึ่งพยายามใช้กองทัพรวมประเทศจีนเข้าด้วยกันภายใต้[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]และ[[เฉิน เจียงหมิง]] ขุนศึกเจ้าเมืองมณฑลกวางตุ้งที่ต้องการปกครองเมืองกวางตุ้งแบบระบบศักดินาขุนศึกต่อไป จึงได้ทรยศหักหลังและวางแผนลอบสังหารดร.ซุน เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1920 [[เย่ จู]] นายพลของเฉินทำการโจมตี[[ทำเนียบประธานาธิบดีกวางตุ้ง]]<ref>{{citation |last=Chan |first=Anthony B. |title=Arming the Chinese: The Western Armaments Trade in Warlord China, 1920–1928 |publisher=UBC Press |location=Vancouver |date=2010 |p=[https://books.google.com/books?id=T6eXCgAAQBAJ&pg=PA106 106]}}</ref> ทำให้ดร.ซุนต้องหนีไปที่ลานท่าเรือ{{sfnp|Hahn|1955||p=[https://books.google.com/books?id=8VPVCQAAQBAJ&pg=PT42 42]}} และลี้ภัยโดยสารเรือ ''เอสเอส ไห่ฉี'',<ref>{{citation |last=Dreyer |first=Edward L. |url=https://books.google.com/books?id=YsWOAwAAQBAJ&printsec=frontcover |title=China at War, 1901–1941 |publisher=Routledge |location=Abingdon |date=1995 |p=[https://books.google.com/books?id=YsWOAwAAQBAJ&pg=PA104 104]}}.</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==