ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดน้ำส้ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ตราสารอนุพันธ์: แปลจาก wikipage ภาษาอังกฤษ เชื่อมลิงค์และอ้างอิง
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ความเป็นกรด: แปลวิกิพีเดียวภาษาอังกฤษ ใส่อ้างอิงและรูป
บรรทัด 67:
 
=== ความเป็นกรด ===
ไฮโดรเจนอตอมใน[[กลุ่มคาร์บอกซิล]] (−COOH) ใน[[กรดคาร์บอกซิลิก]]เช่น กรดแอซีติก สามารถแยกตัวออกจากโมเลกุลด้วยวิธีไอออไนเซชัน (ionization):
{{โครงส่วน}}
:CH<sub>3</sub>CO<sub>2</sub>H {{eqm}} CH<sub>3</sub>CO<sub>2</sub><sup>−</sup> + H<sup>+</sup>
กรดแอซีติกมีความเป็นกรดเพราะสามารถแตกตัวในน้ำและให้[[โปรตอน]] (H<sup>+</sup>) กรดแอซีติกเป็นกรดอ่อนที่สามารถให้โปรตอนได้เพียงตัวเดียว (monoprotic acid) กรดแอซีติกในสารละลายมี [[ค่าคงที่การแตกตัวของกรด|pK<sub>a</sub>]] = 4.76 (ค่าคงที่การแตกตัวของกรด)<ref name="Goldmine">{{cite journal |title=Thermodynamic Quantities for the Ionization Reactions of Buffers |last=Goldberg |first=R. |author2=Kishore, N. |author3= Lennen, R. |journal=Journal of Physical and Chemical Reference Data |volume=31 |issue=2|pages=231–370 |year=2002 |url=https://www.nist.gov/data/PDFfiles/jpcrd615.pdf |archive-url=https://web.archive.org/web/20081006062140/https://www.nist.gov/data/PDFfiles/jpcrd615.pdf |dead-url=yes |archivedate=6 October 2008 |doi=10.1063/1.1416902|bibcode = 1999JPCRD..31..231G}}</ref> [[คู่เบส]]ของกรดนี้คือ[[แอซิเตต|แอซิเตตไอออน]] (CH<sub>3</sub>COO<sup>−</sup>) สารละลายที่มีความเข้มข้น 1.0&nbsp;[[ความเข้มข้น|M]] (เทียบเท่ากับความเข้มข้นของน้ำส้มสายชูทั่วไป) มี [[pH]] =2.4 ซึ่งบ่งบอกว่ามีเพียงแค่ 0.4% โมเลกุลของกรดแอซีติกที่แตกตัว<ref>[H<sub>3</sub>O<sup>+</sup>] = 10<sup>−2.4</sup> = 0.4%</ref> แต่ทว่าถ้าสารละลายมีความเข้มข้นที่ต่ำมาก (< 10<sup>−6</sup> M) ค่าการแตกตัวของโมเลกุลกรดแอซีติกเพิ่มขึ้นมากกว่า 90%
 
[[File:Acetic acid deprotonation.png|375px|การแตกตัวและให้โปรตอนของกรดแอซีติกในน้ำ]]
[[File:Acetic Acid Hydrogenbridge V.1.svg|thumb|ไซคลิกไดเมอร์ (cyclic dimer) ของกรดแอซีติก; เส้นประ <span style="color:green;">'''สีเขียว'''</span> แทน[[พันธะไฮโดรเจน]]]]
 
=== โครงสร้างสาร ===