ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลสาบอี้นเล่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า ทะเลสาบอีนเล ไปยัง ทะเลสาบอี้นเล่: ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์พม่าตามอักษรพม่า
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
แม้ว่าทะเลสาบจะไม่ใหญ่มากนักแต่ก็มีสัตว์สายพันธุ์เฉพาะถิ่น หอยทากกว่า 20 สายพันธุ์ และปลา 9 ชนิดพบว่าไม่มีที่ไหนในโลก บางส่วนของสัตว์เฉพาะถิ่นเหล่านี้ เช่น [[ปลาซิวซอ-บว่า]] [[ปลาซิวกาแล็กซี]] มีความสำคัญในเชิงพาณิชย์เล็กน้อยสำหรับการค้าให้แก่พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ และมีนกนางนวลหัวสีน้ำตาลและสีดำอพยพกว่า 20,000 ตัวในเดือนพฤศจิกายน ธันวาคมและมกราคม<ref>http://www.mrtv3.net.mm/newpaper/2511newsn.pdf Page 16 Col 1</ref>
 
ทะเลสาบแห่งนี้เป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชนที่เรียกตนเองว่า [[ชาวอินทาอี้นต้า]] (Intha) ชนเผ่านี้อาศัยอยู่ในรอบทะเลสาบอี้นเล่มานานนับร้อยปีแล้ว โดยใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางการทำการเกษตรบนเกาะวัชพืชที่พวกเขาสร้างขึ้นมาเองกลางลำน้ำในทะเลสาบ
 
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ได้กลายเป็นสถานที่แห่งแรกของพม่าในเขตสงวนชีวมณฑลโลก<ref>{{cite web|last1=Aye Sapay Phyu|title=Inle Lake joins UN list of biosphere sites|url=http://www.mmtimes.com/index.php/national-news/14976-inle-lake-joins-un-list-of-biosphere-sites.html|website=mmtimes.com/|accessdate=19 June 2015}}</ref> เป็นหนึ่งใน 20 แห่งที่เพิ่มขึ้นจากการประชุมครั้งที่ 27 ของ[[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ|ยูเนสโก]] ในโครงการมนุษย์และชีวมณฑล (MAB) และคณะกรรมการประสานงานนานาชาติ (ICC)<ref>{{cite web|title=Inle Lake designated biosphere reserve|url=http://www.nationmultimedia.com/aec/Inle-Lake-designated-biosphere-reserve-30262235.html|website= nationmultimedia.com/|accessdate=19 June 2015}}</ref>